Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เคี้ยว , then คยว, เคี้ยว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เคี้ยว, 28 found, display 1-28
  1. ขาทติ : ก. กิน, เคี้ยว, กัด, ขบ
  2. ภกฺขณ ภกฺขน : (วิ.) กิน, เคี้ยว, เคี้ยวกิน, กัดกิน, บริโภค.
  3. จปฺเปติ : ก. เคี้ยว
  4. กุณปาส : (ปุ.) กุณปาสะ ชื่อเปรตผู้เคี้ยวกิน ซากศพ วิ. กุณปํ อสตีติ กุณปาโส. กุณปปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, อ. กุณาล
  5. ขชฺช : ๑. นป. อาหารแข็ง, ของเคี้ยว; ๒. ค. ของควรเคี้ยว
  6. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  7. ขชฺชติ : ก. (กรรมวาจกของขาทติ) อันเขาเคี้ยวกิน
  8. ขชฺชโภชนาหาร : (ปุ.) อาหารคือของควรเคี้ยว และอาหารคือของควรบริโภค, อาหารว่าง และอาหารหนัก.
  9. ขาทน : (นปุ.) การกัด, การกิน, การกัดกิน, การเคี้ยวกิน. ขาทฺ ภกฺขเณ, ยุ.
  10. ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
  11. ขาทาปน : นป. การให้เคี้ยวกิน, การป้อน
  12. ขาทาเปติ : ก. ให้เคี้ยวกิน, ป้อน
  13. ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
  14. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  15. ขาทิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การเคี้ยวกิน, เพื่อเคี้ยวกิน
  16. คูถขาท : (ปุ.) เปรตผู้เคี้ยวกินคูถ.
  17. ฆส : (วิ.) กิน, เคี้ยวกิน, กลืน, ผู้กิน, ฯลฯ. ฆส อทเน, อ.
  18. ฆสน : (นปุ.) การขัด, การสี, การเช็ด, การถู, การเคี้ยว, การกิน, การเคี้ยวกิน. ยุ ปัด
  19. จปุจปุ : (วิ.) จับๆ (จั๊บๆ). เสียงที่เกิดจากการเคี้ยวอาหารโดยมิได้หุบปาก ทาง พุทธศาสนาถือว่าเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ สุ ภาพชนไม่ควรทำ.
  20. ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
  21. ฑสน : (นปุ.) การกัด, การขบ, การต่อย ( ใช้ เหล็กไนที่ก้นจี้เอา ), การคาบ, การเคี้ยว. ยุ ปัจ.
  22. ทนฺตวิขาทน : นป. การเคี้ยวด้วยฟัน
  23. ทาฐรท : (ปุ.) ฟันสำหรับเคี้ยว, เขี้ยวและฟัน.
  24. โรมนฺถน : นป. การเคี้ยวเอื้อง
  25. สงฺขาทติ : ก. เคี้ยว, บดอาหาร
  26. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  27. อุทฺรภติ : ก. กิน, เคี้ยวกิน
  28. กฐติ : ก. กวน, เคี่ยว, ต้ม
  29. [1-28]

(0.0067 sec)