โกธปญฺญาณ : (วิ.) มีความโกรธปรากฏ, มีความแค้นเคือง, มีความมุทะลุ.
ปริโกปิต : กิต. โกรธแล้ว, กำเริบแล้ว, แค้นเคืองแล้ว
ปริโกเปติ : ก. โกรธ, กำเริบ, แค้นเคือง
อุปายาส : (ปุ.) ความคับแค้น, ความคับแค้น ใจ, ความเคือง. อุป อา ปุพฺโพ, ยา คติยํ, โส.
กุปฺปติ : ก. โกรธ, เคือง, หวั่นไหว, กำเริบ, สะเทือน
โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
ปกุปฺปติ : ก. เคือง
โกธ : (ปุ.) ความกำเริบ, ความเคือง, ความโกรธ, ความโกรธขึ้ง, ความขึ้งเคียด, ความดุร้าย, ความโหดเหี้ยม, ความจำนงภัย. วิ. กุชฺฌนํ โกโธ. คนผู้โกรธ, คนโกรธ. กุชฺฌตีติ โกโธ. กุธฺ โกเป, โณ.
กถญฺจิ : (อัพ. นิบาต) ยาก, ลำบาก, ฝืดเคือง, เสียใจ.
กนฺตาร : (วิ.) อัตคัด, ฝืดเคือง.
กสิร : (วิ.) ทุกข์, ลำบาก, คับแคบ, ฝืดเคือง, กระเสียร.
กิจฺฉ : (วิ.) ลำบาก, ฝืดเคือง, ทุกข์, ยาก, ทุกข์ยาก.
กุชฺฌติ : ก. โกรธ, ขุ่นเคือง, ขึ้งเคียด
กุทฺธ : (ปุ.) ความโกรธ, ความเคือง. กุธฺ โกเป, โต.
กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
โกธุปายาส : ป. การประสบกับความโกรธแค้น, ความคับแค้นด้วยสามารถแห่งความโกรธ, ความคับอกคับใจ
ฐียติ : ก. ดื้อดึง, โกรธแค้น
ทฺวีหิติก : ค. ซึ่งแสวงหามาได้โดยยาก, ซึ่งมีการเลี้ยงชีวิตอยู่ได้โดยฝืดเคือง
ทุกฺขียติ : ก. เป็นทุกข์; ลำบาก, คับแค้น
ทุชฺชีว : (ปุ. นปุ.) ความเป็นอยู่ยาก,ความเป็นอยู่ลำบาก,ชีวิตยากแค้น.
ทุชฺชีวิต : (นปุ.) ความเป็นอยู่ยาก,ความเป็นอยู่ลำบาก,ชีวิตยากแค้น.
ทุสฺสติ : ก. ประทุษร้าย, ทำร้าย, ทำให้เสียหาย, โกรธเคือง
ทุสฺสน : นป., ทุสฺสนา อิต. การประทุษร้าย, การทำให้เสียหาย, การโกรธเคือง
ทุสฺสนีย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง, ซึ่งน่าโกรธเคือง
ทุสฺสิตตฺต : นป. ความที่จิตถูกโทษประทุษร้าย, ความโกรธเคือง
ปโกป : ป. ความโกรธเคือง, ความเดือดพล่าน, ความยุ่งยาก
ปฏิฆาต : ป. การป้องกัน, การกำจัด; ความขัดเคือง, ความคับแค้น, ความไม่พอใจ
ปฏิทณฺฑ : ป. อาชญาตอบ, การแก้แค้น, การลงโทษตอบแทน
ปฏิมาเรติ : ก. ฆ่าตอบ, ฆ่าแก้แค้น
ปฏิโรสติ, - เสติ : ก. โกรธตอบ, ขุ่นเคืองตอบ, เสียดสีตอบ
ปฏิเวร : นป. เวรตอบ, การแก้แค้น
ปฏิสตฺต : ป. ศัตรู, (คู่แค้น)
ปฏิเสนิกโรติ : ก. กระทำความเป็นข้าศึก, ตั้งต้นเป็นศัตรู, แก้แค้น
ปฏิเสนิยติ : ก. ประพฤติเป็นศัตรู, แก้แค้น, โต้เถียง, ประคารม, ไสส่ง
ปติฏฺฐิยติ, ปติฏฺฐียติ : ก. ดื้อดึงขึ้งเคียด, โกรธแค้น, หมายขวัญ
พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
พหุวิฆาต : ค. มีความผิดหวัง, มีความคับแค้น, มีทุกข์อย่างใหญ่หลวง
วิทฺเทส : ป. ความโกรธแค้น
สงฺกุปิต : กิต.โกรธเคือง, กำเริบ
สมฺปโกป : (ปุ.) ความเคืองเสมอ, ความเคืองมาก, ความเดือดดาลมาก, ความโกรธมาก, สํ ป ปุพฺโพ, กุปฺ โกเป, โณ.
อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
อฎฺฏียติ : ก. กังวลใจ, กลุ้มใจ, คับแค้นใจ
อนายาส : ค. ไม่ลำบาก, ไม่คับแค้นใจ
อนิฆ : ค. ไม่มีทุกข์, ไม่มีความคับแค้นใจ
อนีฆ : (วิ.) ไม่มีทุกข์, ไม่มีความยาก, ไม่มีความยากแค้น.
อนุปายาส : ค. อันไม่มีความคับแค้นใจ
อโรสเนยฺย : ค. ผู้ไม่โกรธง่าย, ผู้ไม่ขุ่นเคือง
อสุโรป : ป. ความไม่สุภาพ, ความกระด้าง, ความโกรธเคือง
อายาส : (วิ.) ลำบาก, ยากแค้น, เหน็ดเหนื่อย.
อีฆ : ป. ความคับแค้นใจ, อันตราย