นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
ปณ : ป. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน; เงิน, ทรัพย์สมบัติ, ค่าจ้าง, บำเหน็จ, การค้าขาย
รูปิย : นป. แร่เงินแร่ทอง, เงิน, เงินตรา, เหรียญ
อญฺเจติ, อญฺจยติ : ก. แปลก, พิเศษ
อพฺโพหาริก,- ริย : ค. กล่าวอ้างไม่ได้, กล่าวไม่ได้ว่ามี, เพิกเฉย, พิเศษ
โอธิโส : ก. วิ. โดยส่วน, โดยถ่องแถว, เฉพาะ, พิเศษ
คุญฺชา : (อิต.) มะกล่ำ, มะกล่ำตาหนู. คุชฺ สทฺเท, อ, พินฺทวาคโม. คุญฺชา ชื่อมาตรา เงิน หนักเท่ากับเมล็ดมะกล่ำตาหนู. ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ คุญชา. จตฺตาโร วีหโย สมฺปิณฺฑิตา เอกา ว คุญฺชา.
ธน : (นปุ.) เงิน, ทรัพย์, สิน (เงิน ทรัพย์), สินทรัพย์. สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ. อภิฯ วิ. มม อิทนฺติ ธนายิตพฺพํ สทฺทายิตพฺพนฺติ ธนํ. ธนฺ ธญฺเญ, สทฺเท วา, อ. เวสฯ ๔๘๗ วิ. ธนียติ อิจฺฉียตีติ ธนํ. ธนฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ธน, ทฺรวฺย.
รชต : (นปุ.) เงิน วิ. รญฺชนฺติ ชนา เอตฺถาติ รชตํ. รญฺชฺ ราเค, อโต. แปลง ต เป็น ฏ เป็น รชฏ บ้าง.
สชฺฌุ : นป. เงิน
หิรญฺญ : (นปุ.) เงินทอง, ทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. แปลว่า เงิน เป็นส่วนมาก. หรฺ หรเณ, โญ. แปลง ญ เป็น ญฺญ ลบที่สุดธาตุ และแปลง อ ที่ ห เป็น อิ. หา จาเค คติยํ วา, อญฺโญ. แปลง หา เป็น หิร วิ. ชหาติ สตฺตานํ หิตนฺติ หิรญฺญํ (ให้ประโยชน์แก่สัตว์). ส. หิรณฺย.
อจฺเจก : (วิ.) ผิดปกติ, รีบร้อน, จำเป็น, บังเอิญเป็น, พิเศษ.
อินฺทุโลหก : นป. เงิน
อติเรก : (วิ.) อันหนึ่งเกิน, ยิ่งกว่าหนึ่ง, เหลือเกิน, ยิ่งเกิน, เกินกว่าหนึ่ง, พิเศษ.วิ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ. เอก+อติ กลับบทหน้าไว้หลัง รฺ อาคม. ส. อติเรก.
กาลวิเสส : (ปุ.) กาลวิเศษ, กาลพิเศษ.
กงฺกุฏฐก : นป. ดินสีทองสีเงิน
กมฺโพช : (ปุ.) กัมโพชะ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. กมฺพุปุพฺโพ, โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. ส. กมฺโพช.
กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็น อ เป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
กหาปณ : (ปุ. นปุ.) กหาปณะ ชื่อมาตราเงิน ๒๐ มาสก เป็น ๑ กหาปณะ เป็นเงิน ไทยประมาณ ๔ บาท หรือ ๑ ตำลึง. วิ. กรีสปฺปมาเณน รูเปน กโต ปโณ ปณิโย ทพฺพเภโท กหาปโณ. แปลง รีส เป็น ห แล้วทีฆะ อภิฯ และเวสฯ ๕๖๗.
กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
กุปฺป : (นปุ.) มูลแร่ (นอกจากทองคำและเงิน). คุปฺ รกฺนขเณ, อ, ทฺวิตฺติ.
กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
โกชว : (ปุ.) โกเชาว์ อาสนะพิเศษทั้งกว้างทั้งยาว, ผ้าลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าโกเชาว์, พรม, เบาะ, เปล.
โกสมฺพี : (อิต.) โกสัมพี ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ขาทถ ปิวถาติ อาทีหิ ทสหิ สทฺเทหิ กุสนฺติ เอตฺถาติ โกสมฺพี. กุสฺ อวฺหาเณ, วี, นิคฺคหิตาคโม, ฎีกาอภิฯ ลง พ ปัจฺ อี อิต.
ขีรมูล : นป. ค่าน้ำนม, เงินสำหรับซื้อน้ำนม
คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
คิหิลิงฺค : นป. เพศคฤหัสถ์, ลักษณะพิเศษของคฤหัสถ์
โคณก โคนก : (ปุ.) ผ้าโกเชาว์ใหญ่ชิ้นยาว, อาสนะพิเศษประกอบด้วยขนยาว, ผ้า สักหลาดขนยาว, พรม, กุ สทฺเท, ยุ, สกตฺเถ โก, อุสฺโสตฺตํ. ฎีกาอภิฯ ทีเฆน โลเมน ยุตฺโต อาสนปฺปเภโท โคนโก นาม.
จมฺปา : (อิต.) จัมปา ชื่อนครพิเศษของอินเดีย โบราณ วิ. จมนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา จมุ อทเน, โป.
จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณ : (นปุ.) การรับทอง และเงิน.
ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
ฏงฺกก : ป. เงินเหรียญ
ตกฺกสิลา : (อิต.) ตักกสิลา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ. วิ. โย ปุริสกาเรน อูโน โส ตตฺถ คนฺตฺวา ตํ อูนํ ปูเรตีติ ตกฺกสิลา
ถานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ที่อัน พิเศษ, ถานันดร ( ลำดับชั้นบุคคล ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์ หน้าที่ การงาน).
ทีฆโลมก : (ปุ.) อาสนะพิเศษประกอบด้วย ขนยาว, ผ้าโกเชาว์ใหญ่ขนยาว.
ทุสฺสรตน : นป. รัตนะคือผ้า, ผ้าเนื้อดี, ผ้าชนิดพิเศษ
เทวเภท : (ปุ.) เทวดาชุดหนึ่ง, เทวเภท เทวดาพิเศษ.
ธนทญฺฑ : (ปุ.) การปรับไหม (ให้ผู้ทำผิดชำระเงินแทนการทำความผิดแก่ผู้เสียหาย). ส. ธนทณุฑ
ธนาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนแห่งเงิน,คลังแห่งเงิน,ธนาคารชื่อสถานที่ทำการค้าด้วยเงินคือรับฝากและให้กู้เงิน.ส.ธนาคาร
ธนาตฺติ : (อิต.) การบังคับในเพราะเงิน, การบังคับเกี่ยวกับเงิน, ธนาณัติ คือการส่งเงินทางไปรษณีย์ตราสารซึ่งไปรษณีย์แห่งหนึ่งส่งไปให้ไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งตามที่ผู้ส่งเงินต้องการให้ส่ง.
ธนี : (วิ.) มีทรัพย์, มีเงิน, มั่งคั่ง. วิ ธนํ อสฺส อตฺถีติ ธนี. อี ปัจ. ตทัสสัตถีคัท. ส. ธนินฺ.
ธุตงฺค ธูตงฺค : (นปุ.) องค์อันเป็นเครื่องกำจัด ซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล, องค์เป็นเครื่องกำ จัดกิเลส, ธุดงค์ ชื่อวัตรปฏิบัติพิเศษของ ภิกษุมี ๑๓ ข้อ.
นยนามย : (ปุ.) โรคอันเกิดในดวงตา, จักษุ โรค, จักษุโรคพิเศษ.