เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
เถยฺยเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจประกอบด้วย ความเป็นแห่งขโมย. ฯลฯ, ความตั้งใจ ขโมย, เถยยเจตนา ไถยเจตนา (เจตนา ในการเป็นขโมย).
กุสลเจตนา : อิต. กุศลเจตนา, เจตนาที่เป็นกุศล, ความตั้งใจดี
นิกสาว : ค. ปราศจากอาสวะ, บริสุทธิ์
นิทฺธมติ : ก. ขจัดออก, ปัดออก, เป่าออก, สะอาด, บริสุทธิ์
นิทฺโธต : ค. ซึ่งล้างแล้ว, อันซักแล้ว, อันชำระแล้ว, อันลับแล้ว, อันสะอาด, บริสุทธิ์
นิทฺโธวติ : ก. ล้าง, ซัก, ชำระ, ทำให้สะอาด, บริสุทธิ์
นิมฺมล : ค. ซึ่งไม่มีมลทิน, สะอาด, บริสุทธิ์
เนล, (เนฬ) : ค. สะอาด, บริสุทธิ์
ปฏิมุตฺต : ค. หมดจด, บริสุทธิ์
ปริโยทาต : ค. ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์
ปริสุชฺฌติ : ก. หมดจด, บริสุทธิ์
ปสีทติ : ก. เลื่อมใส, ศรัทธา, ยินดี, สะอาด, บริสุทธิ์
ปาวก : ๑. ป. ไฟ ;
๒. ค. สว่าง, สดใส, บริสุทธิ์
มฏฺฐ : (วิ.) เกลี้ยง, เลี่ยน, เตียน, ราบ, สะอาด, บริสุทธิ์, มชฺ สุทฺธิยํ, โต.แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ ชฺ.
มรณเจตนา : (อิต.) เจตนาเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ตาย.
มุญฺจนเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจในขณะให้, ความตั้งใจให้ในขณะสละ, มุญฺจนเจตนา (ขณะให้ก็เต็มใจให้ ให้ด้วยความปีติ).
วิสท : ค. ฉลาด, บริสุทธิ์
สุทฺธ : (วิ.) ไม่เจือปน, หมดจด, แจ่มใส, ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์, ล้วน, ล้วน ๆ, แท้, สิ้นเชิง, ผุดผ่อง. สุทธฺ โสเจยฺเย, โต, ทฺวิตฺตํ, ธโลโป.
อกาจ : ค. สะอาด, บริสุทธิ์
อกุสลเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเป็นบาป, ความนึกอันเป็นบาป, ความตั้งใจอันเป็นบาป, ความคิดชั่ว, ความคิดอันเป็นอกุศล, เจตนาอันเป็นอกุศล. ส. อกุศลเจตนา.อ
อปราปรเจตนา : (อิต.) เจตนาอื่นและเจตนาอื่น, เจตนาอื่น ๆ, อปราปรเจตนาคือ เจตนาที่เกิดสืบ ๆ ต่อจากเจตนาขณะบริจาคดูมุญฺจนเจตนาด้วย.
อวฺยาเสก : ค. ไม่ระคน, ไม่คลุกเคล้า ; บริสุทธิ์
อสงฺกิลิฏฺฐ : ค. ไม่เศร้าหมอง, บริสุทธิ์
โอทาตก : ค. ขาว, บริสุทธิ์; ผู้นุ่งขาวห่มขาว
กายสญฺเจตนา : อิต. ความจงใจทำด้วยกาย, ความแกล้งทำด้วยกาย
คนฺธสญฺเจตนา : อิต. คันธสัญเจตนา, ความติดใจในกลิ่น
ปราปรเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเกิดสืบๆมา, ความคิดต่อๆ มา,
ปุพฺพเจตนา : (อิต.) ความคิดจะให้อันเกิดก่อนแต่การให้, ความตั้งใจไว้ก่อนแต่จะให้, ความตั้งใจให้ไว้ก่อนให้, ความคิดอยากจะทำ บุญที่เกิด ขึ้นก่อน ที่จะทำ.
มโนสญฺเจตนา : (อิต.) ความจงใจแห่งใจ, ความจงใจ.
สญฺเจตนา : อิต. การตั้งใจ
ปริสุทฺธิ : อิต. ความหมดจด
ชุ : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว, ใส, งาม, บริสุทธิ์. ชุ ทิตฺติยํ, อ.
นิมล นิมฺมล : (วิ.) มีความมัวหมองออกแล้ว, ไม่มีความมัวหมอง, หมดความมัวหมอง, มีมลทินออกแล้ว, ไม่มีมลทิน, หมดมลทิน, สะอาด, ใส, บริสุทธิ์. ส. นิรฺมล.
ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
สุกฺก : (วิ.) ขาว, เผือก, สะอาด, สว่าง, สุกใส, ดี, ผ่อง, บริสุทธิ์.
สุจิ : (วิ.) ขาว, เผือก, เผือกผ่อง, ผ่องใส, สะอาด, หมดจด, บริสุทธิ์. สุจฺ โสจเน. ปกาสเน วา, อิ. ส. ศุจิ.
อเนฬ : ค. ๑.ไม่มีโทษ, ไม่มีความผิด;
๒. บริสุทธิ์
กฏุวิย : ค. ไม่บริสุทธิ์, เศร้าหมอง
กตชาติหิงฺคุลิก : ค. ตกแต่งแล้วด้วยสีแดงอันบริสุทธิ์
กมฺมวิสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งกรรม
กสมฺพุชาต : ค. สกปรก, ไม่บริสุทธิ์, เลว
กายสุจิ, กายโสเจยฺย : นป. ความสะอาดแห่งกาย, กายบริสุทธิ์
กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
คหณิก : ค. ผู้บริสุทธิ์มาแต่กำเนิด; ผู้มีไฟธาตุย่อย
คามปูฏว : (ปุ.) ชาวบ้านผู้มีการทำให้บริสุทธิ์, ชาวบ้านผู้มีการชำระผิว, ชาวบ้านผู้ชอบ แต่งผิว. คาม+ปูฏว.
จ : (วิ.) บริสุทธิ์, สะอาด. อุ. จํ สีลํ สุทฺธสตฺตานํ. ศีลบริสุทธิ์แก่สัตว์ผู้บริสุทธิ์ ท.
จตุปาริสุทฺธิสีล : (นปุ.) ศีลอันภิกษุพึงให้เต็ม ด้วยเป็นศีลยังผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มี องค์สี่, ศีลยังภิกษุผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มีองค์สี่ ( มีสี่ข้อ ).
เจตนก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยเจตนา, มีความคิด, มีความตั้งใจ