ปวฑฺฒ : ค. เจริญ, งอกงาม, ใหญ่, แข็งแรง
ปวฑฺฒติ : ก. เจริญ, งอกงาม
พฺรห : (วิ.) เจริญ, เจริญขึ้น, งอกงาม, ไพบูล, ไพบูลย์, สูง, สูงขึ้น, ใหญ่. พฺรหฺ วุทฺธิอุคฺคเมสุ, อ.
อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
อุปพฺรูเหติ : ก. เจริญ, เพิ่มพูน, งอกงาม
ปริปาจน : นป. ความหุงต้ม, ความเจริญงอกงาม
ปวฑฺฒน : นป. ความเจริญ, ความงอกงาม
โปสน : (นปุ.) ความงอกงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. ปสฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การปรนปรือ. ปุสฺ โปสเน, ยุ.
รูหน : นป. ความเจริญงอกงาม
โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
อภิวฑฺฒน : นป. อภิวฑฺฒิ, อิต. ความเจริญรุ่งเรือง, ความงอกงาม
อวิรูฬฺห : ค. ไม่เจริญงอกงาม
อวิรูฬฺหิ : อิต. ความไม่เจริญงอกงาม
อาภาเวติ : ก. ให้เจริญ, ให้งอกงาม, ดำเนิน
อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
เขม : (วิ.) ดี, งาม, เจริญ, ประเสริฐ, สบาย, สบายใจ, ปลอด, ปลอดภัย, ปลอดโปร่ง, สำราญ, เป็นมงคล, เกษม. วิ. ขียเตตฺถ อสุภนฺติ เขมํ. ขี ขเย, โม.
ชยฺย : (วิ.) ประเสริฐ, เจริญ, ชิ ชเย, โย.แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
ชล : (วิ.) โพลง, ลุกโพลง, รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, แหลม, คม, เจริญ, มั่งคั่ง, มั่งมี, เป็นสิริ, ดี, เลิศ, ชลฺ ทิตฺติธญฺเญสุ, อ.
ธญฺญ : (วิ.) มีบุญ, มีสิริ, ดี, เจริญ, มั่งมี, รุ่งเรือง, ร่าเริง, สำราญ, เลิศ. ธนฺ ธญุเญ, โย, นฺยสฺส โย. ทฺวิตฺตํ. รูปฯ ๓๙๓ ณฺย ปัจ. ๖๔๔ ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๐ วิ. ธนาย สํวลฺลตีติ ธญฺญํ (เป็นไปเพื่อ ทรัพย์).
ปทกฺขิณ : (วิ.) ดี, เจริญ, รุ่งเรือง, สุจริต, ( ตรง ซื่อ ซื่อตรง ไม่เอนเอียง จริง).
ปุล : (วิ.) ใหญ่, เจริญ, รุ่ง. ปุลฺ มหตฺเต, อ.
ภทฺท :
(วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
ภาว : (วิ.) มี, เป็น อุ. มูลภาว เป็นรากเหง้า, ปรากฏ, เกิด, เจริญ, สรรเสริญ.
ภูติ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง, มั่งคั่ง, สำเร็จ.
ภูริ ภูรี : (วิ.) มาก, เจริญ, แข็งแรง, หนา, หนักหนา.
ภูวิ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง. วิ ปัจ.
สมฺภวติ : ก. เกิด, เจริญ, มีอยู่
สิว : (วิ.) งาม, ดี, เกษม, สำราญ, สุขสำราญ, เป็นศรีสวัสดิ์, เจริญ, ดีงาม. ส. ศิว.
สุภ : (วิ.) งาม, ดี, เจริญ, ชอบใจ, เป็นที่ชอบใจ. สุภฺ โสภเน, อ. ส. ศุภ.
อุสภ : (วิ.) องอาจ, เจริญ, ยิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, ผู้ เป็นคำ วิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศชาย ที่ใช้คู่กับคำ ว่า เมีย ซึ่งเป็นคำวิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศ หญิง. ส. ฤสภ.
อุสฺสิต : ค. รุ่งเรือง, เจริญ, ยกขึ้น
เชฏฺฐ เชฏฺฐก : (วิ.) เจริญที่สุด, สูงสุด, เจริญ ยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. วุฑฺฒศัพท์อิฏฺฐ ปัจ แปลง วุฑฺฒ เป็น ช เอา อิ ที่ ปัจ. เป็น เอ รูปฯ ๓๗๕. ส. ชฺยษฺฐ.
โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
ปุสฺส : (วิ.) ขาว, สะอาด, รุ่งเรือง, เจริญ. ปุสฺ วุฑฒิยํ, อ.
มงฺคล : (วิ.) ดี, เจริญ.
วฑฺฒติ : ก. เจริญ
วิรูหติ : ก. งอกงาม
สวฑฺฒติ : ก. เจริญ
กปฺปปริวตฺต : นป. การหมุนเวียนแห่งกัป, ความเจริญแห่งกัป, ความสิ้นสุดแห่งโลก
กรุณาภาวนา : อิต. กรุณาภาวนา, การเจริญหรือก่อให้เกิดความกรุณา
กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
คุณวุฑฺฒ : (วิ.) ผู้เจริญแล้วด้วยความดี, ผู้ เจริญแล้วโดยความดี, ผู้เจริญด้วยคุณ, ผู้ เจริญโดยคุณ.
คุณวุฑฺฒิ : (อิต.) ความเจริญด้วยความดี, ฯลฯ, คุณวุฒิ (ความสามารถที่เหมาะสมแก่ ตำแหน่งหน้าที่)
จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
จกฺกภญฺชนี : ค. ผู้หักรานจักร, ผู้ทำลายความดีความเจริญ
จกฺขุสฺส : ค. น่าดู, เจริญตา
จิตฺตภาวนา : (อิต.) การยังจิตให้เจริญ, การอบรมจิต.
ฉทฺทาฉิทฺท : (วิ.) เป็นช่องและช่องอันเจริญ, เป็นช่องน้อยช่องใหญ่, ทั้งช่องน้อยทั้งช่องใหญ่.
เชฏฺฐ : ๑. ป. ชื่อเดือนคือเดือนเจ็ดตกราวเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน;
๒. ค. พี่ใหญ่, ผู้เจริญที่สุด, สูงสุด