จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
ปาทจลน, - จาร : นป. การไหวเท้า, การกระดิกเท้า, การสั่นเท้า, การย่างเท้า
จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
คุฒจาร : (ปุ.) คนสอดแนม, จารบุรุษ. คุฒ มาจาก คุหฺ สํวรเณ. ฒ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ.
ทุคคสญฺจาร : (ปุ.) การเดินทงไปในที่อัน...ได้โดยยาก วิ. ทุคคสฺส สญฺจาโร.ทุคคสญฺจาโร, หักฉัฎฐีเป็นสัตตมี. ส. ทุรฺคสํจาร ทุรฺคสญฺจาร.
ภิกฺขาจาร : (ปุ.) การเที่ยวไปเพื่ออันขอ, การเที่ยวไปเพื่ออันขออาหาร, การเที่ยวขออาหาร, การเดินบิณฑบาต, การเที่ยวบิณฑบาต. ภิกษาจาร. ส. ภิกฺษาจาร.
อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
อุจฺจาร : (ปุ.) ขี้, คูถ, อุจจาระ. วิ. อุจฺจารียเตติ อุจฺจาโร. อุปุพฺโพ, จรฺ จชเน,โณ, ส. อุจฺจาร.
กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
คามูปจาร : ป. อุปจารแห่งบ้าน, ที่ใกล้บ้าน, ชานบ้าน, นอกบ้าน
จารี : ค. ผู้มีปกติประพฤติ, ผู้มักเที่ยวไป
จารุ : (วิ.) สวย, งาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็น ที่ชอบใจ, เหมาะ, สม.
ทุคฺคสญฺจาร : ป. การท่องเที่ยวไปในทางกันดาร; ทางที่สัญจรไปมาได้ยาก
ธมฺมจาร : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจาโร. ณ ปัจ.
นาวาสญฺจาร : ป. การเที่ยวทางเรือ, ท่าเรือ
ปฏิจาร : ป. การติดต่อ, การเยี่ยมเยียน, การเกี่ยวข้อง
ปิณฺฑจาร : ป. การเที่ยวไปเพื่อก้อนข้าว
มิจฺฉาจาร : (ปุ.) ความประพฤติผิด. วิ. มิจฺฉาจรณํ มิจฺฉาจาโร. มิจฺฉา วา จาโร มิจฺฉาจาโร.
มุตฺตาจาร : ค. เสียนิสัย
สญฺจาร : ป. การเดินทาง, การท่องเที่ยว
อติจาร : ป. การล่วงละเมิด, การประพฤติผิด
อปจาร : ป. ความเสื่อม, โทษ, การกระทำผิด
อสมาทานจาร : ป. การท่องเที่ยวไปโดยไม่ต้องถือเอาไตรจีวรไปครบสำรับ
อสีฆจาร : (วิ.) ช้า, เนือย, เขลา.
อาราจาร, - จารี : ค. ผู้มีปกติประพฤติห่างไกลจากกาม
อิราจาร : ป. นรก
อุจฺจารกรณฏฺฐาน อุจฺจารฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็น ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, ถาน (ส้วมของพระ).
คนฺถรจนาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์, พระคันถรจนาจารย์.
คุฬฺหปุริส คูฬฺหปุริส : (ปุ.) คนสอดแนม, จารบุรุษ.
ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
เทสก เทสิก : (วิ.) ผู้แสดง, ผู้บรรยาย, ผู้ชี้แจง, ผู้สอน. ทิสฺ ทิสิ วา อุจจารเณ, ณวุ. ส. เทศก.
เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
ปยุตฺตก : ค., ป. ผู้ที่เขาประกอบขึ้น, ผู้ที่เขาแต่งตั้งขึ้น, ผู้ที่เขาใช้งาน; คนงาน, คนรับจ้าง, จารบุรุษ
โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
อชฺฌายก : (ปุ.) คนผู้ศึกษา, นักเรียน, นักศึกษา.อธิปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ สิกฺขเณวา, ณฺวุ.
อฏฺฐกถาจริย : ป. พระอรรถกถาจารย์
อโธคม : (ปุ.) อโธคมะชื่อลมในกายอย่างหนึ่งในหกอย่างคือลมพัดลงเบื้องต่ำ.วิ.อุจฺจารปสฺสาวาทีนํนีหรณวเสนอโธภาคํคจฺฉตีติอโธคโม.
อนุสาวนาจริย : (ปุ.) อนุสาวนาจารย์ชื่อพระคู่สวดในการอุปสมบทซึ่งนั่งซีกข้างซ้ายมือของที่ประชุมสงฆ์ (ซ้ายมือของพระอุปัช-ฌาย์).
อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
อวจรก (โอจรก) : ค. นักสอดแนม, จารบุรุษ, คนที่มีนิสัยชั่ว
อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.
อุทาน : (นปุ.) การเปล่ง, คำเปล่ง, คำที่เปล่ง ขึ้นทันที. อุปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ, ยุ, ทฺ อาคโม, แปลง อิ เป็น อา.
อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
อุปนิกฺขิตฺตก :
๑. ป. จารบุรุษ, คนสืบความลับ;
๒. ค. ดู อุปนิกฺขิตฺต