กถาวตฺถุ : นป. เรื่องที่นำมาสนทนา, ชื่อของคัมภีร์เล่มที่ห้า ของอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์
กุลาจล : ป. มหาบรรพต, ชื่อรวมของภูเขาใหญ่ทั้งเจ็ด คือเขาสัตตบริภัณฑ์ ซึ่งล้อมรอบเขาพระสุเมรุอยู่
จตุสตฺตติ : ค. เจ็ดสิบสี่
จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
ฉสตฺตติ : ค. เจ็ดสิบหก
เชฏฺฐ : ๑. ป. ชื่อเดือนคือเดือนเจ็ดตกราวเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน;
๒. ค. พี่ใหญ่, ผู้เจริญที่สุด, สูงสุด
เชฏฺฐ : (ปุ.) เดือนเจ็ด วิ. เชฏฺฐาย ปุณฺณจนฺท – ยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส เชฏฺโฐ. ณ ปัจ. ส. ชฺยษฺฐ, ชฺยษฐ.
เชฏฺฐมาส : (ปุ.) เดือนมีพระจันทร์เพ็ญสวย ฤกษ์เชษฐา, เดือนเจ็ด. เป็น เชฏฺฐมูลมาส ก็มี.
เตสตฺตติ : อิต. เจ็ดสิบสาม
ทกฺขิณานุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่ง ทักษิณา, ทักขิณานุปทาน ทักษิณา- นุปทาน คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่ม ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้วหรือการทำบุญทุกๆ เจ็ดวัน นอกจากเจ็ดวันแรก ก่อนครบ ๕๐ วัน มักทำเป็นการภายในไม่บอกแขก.
ทกฺขิณานุสฺสรณ : (นปุ.) ทักขิณานุสรณ์ ทักษิณานุสรณ์ ชื่อของการทำบุญครบ ๗ วัน นับแต่วันมรณะ มักทำเป็นการบอก แขกใหญ่ ที่เรียกว่า สัตตมวาร สัตมวาร ( ครบเจ็ดวัน ).
ทกฺขิเณยฺยคฺคิ : ป. ไฟคือทักขิไณยบุคคล, ไฟหนึ่งในเจ็ดกองที่พุทธมามกะพึงบำรุงบำเรอบ้าง พึงเสียสละบ้าง
ทฺวิสตฺตติ : ค. เจ็ดสิบสอง
เทฺวสตฺตรตฺต : นป. เจ็ดราตรีสองหน, สิบสี่ราตรี, หนึ่งปักษ์
ปริวาทินี : อิต. พิณเจ็ดสาย
สตฺตก : นป. หมวดเจ็ด
สตฺตกฺขตฺตุ : ก. วิ. เจ็ดครั้ง
สตฺตติ : ค. เจ็ดสิบ
สตฺตม : ค. ที่เจ็ด
สตฺตวีสติ : ก. ยี่สิบเจ็ด
สตฺตาห : นป. เจ็ดวัน
อนีนาฆเสส : (วิ.) เจ็ดแสนเจ็ดหมื่นเจ็ดพันพระองค์.
อนีนาสุหล : (วิ.) สามแสนแปดหมื่นเจ็ดพันพระองค์.
อโนตตฺต : (ปุ.) อโนตาตชื่อสระใหญ่สระหนึ่งในเจ็ดสระซึ่งอยู่ในป่าหิมพานต์, สระอโนตาต.วิ.สุริยรํสิสมฺผุฏฐาภาเวนน อวตปฺปติอุทกเมตฺถาติอโนตตฺโต.
อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
อาหนติ : ก. ฆ่า, เบียดเบียน, ตี, จด, ถึง, ไปถึง
กฏิถาลก : นป. กระดูกสันหลังที่จดบั้นเอว
มูลนิธิ : (ไตรลิงค์) ทรัพย์อันบุคคลเก็บไว้เป็นต้นทุน, มูลนิธิ ชื่อทรัพย์สินอันตั้งไว้เป็นทุนเก็บแต่ดอกผลมาใช้ในการกุศลหรือประโยชน์สาธารณะ ต้องจดทะเบียนตามกฏหมาย.
อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
อาหจฺจปทา : (วิ.) มีขาจรดแม่แคร่, มีขาจด แม่แคร่.