เขตฺตสามิก : ป. เจ้าของน้ำ, เจ้าของสวน, เจ้าของที่ดิน
เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
ปฐวีมณฺฑล : นป. มณฑลแห่งดิน, วงกลมแห่งพื้นดิน, พื้นดิน, ที่ดิน
ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
มหิ : (อิต.) ดิน, ที่ดิน, แผ่นดิน, โลก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อิ.
มหี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, ที่ดิน, โลก, มหี ชื่อแม่น้ำสายที่ ๕ ใน ๕ สายของอินเดียโบราณ. มหฺ ปูชายํ วุฑฺฒิยํ วา. อ, อิตฺถิยํ อี.
ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ;
๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ;
๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
สามิก : (ปุ.) นาย, เจ้า, เจ้าของ, ผัว. ว. สํ เอตสฺสาตฺถีติ สามิโก. อามิปจฺจโย. สกตฺเถ โก.
ธนสามิ : (ปุ.) เจ้าของแห่งทรัพย์, เจ้าของ ทรัพย์.
ภุว ภูว : (ปุ.) โลก, แผ่นดิน, ที่ดิน. ฐานะ.
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
กมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของกรรม
กมฺมสามี : ป. เจ้าของกรรม
เขตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำซึ่งที่ดิน, เกษตรกร (ผู้ประกอบการเกษตร มีทำไร่ทำนา เป็นต้น). ส. เกษตฺรกร.
เขตฺตชิน : ค. เจ้าที่ดิน, ผู้มีที่ดินอยู่ในปกครองมาก
เขตฺตาชีว เขตฺตาชีวี : (ปุ.) ชาวนา (ผู้มีอาชีพ ทำไร่ทำนา), คนผู้เลี้ยงชีวิตด้วยที่ดิน. วิ. ตฺเตน ชีวตีติเขตฺตาชีโว. เขตฺตสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ลง อี ปัจ.
ควมฺปติ : ป. เจ้าของวัว, โคที่เป็นจ่าฝูง
คหปติ : ป. คหบดี, พ่อบ้าน, พ่อเรือน, ผู้ชายเป็นเจ้าของบ้าน
โคมิก : (ปุ.) เจ้าของโค วิ. คาโว อสฺส อตฺถีติ โคมิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มฺ อาคม.
โคมิก, โคมี : ค. เจ้าของโค
โควินฺท : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นหัวหน้าของโค,พญาโค. วิ. ควํ คุณฺณํ อินฺโท โควินฺโท. โค+อินฺท วฺ อาคม. เจ้าของโค วิ. ควํ อินฺโท อธิกโต ชโน โควินฺโท. ควํ วินฺทตีติ วา โควินฺโท. โคปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, อ. และยังแปลว่า เจ้าของวัวควาย, หัวหน้าคนเลี้ยงสัตว์, นาย โคบาล, พระกฤษณะ, พระพฤหัสบดี อีกด้วย.
ฆรเมสี : ป. ผู้ดูแลบ้าน, พ่อบ้าน, เจ้าของบ้าน
จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
ทานปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทาน, คนผู้เป็นใหญ่ในทาน, เจ้าของทาน, ทานบดี.
ทานาธิปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทาน, ฯลฯ, ทานาธิบดี. ทาน+อธิปติ.
ทิคฺฆิกา : (อิต.) คู ชื่อที่ดินที่ขุดเป็นคลอง หรือล่องเพื่อล้อมเป็นสิ่งที่ต้องการล้อม วิ. ทีฆภาเวน ยุตฺตตฺตา ทิคฺฆิกา. เป็น ทีฆิกาบ้าง.
ธนปติ : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่ในทรัพย์, เจ้าของทรัพย์, ธนบดี, ท้าวกุเวร.
ธเนสฺส ธเนสฺสร : (ปุ.) คนผู้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์, คนมั่งมี, คนมั่งคั่ง, คนรวย, ท้าวกุเวร. ธน+อีส, ธน+อิสฺสร.
ธมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า
ธมฺมสามิสฺสร ธมฺมสฺสามิสฺสร : (วิ.) ผู้เป็น ใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของแห่งธรรม.
นิยฺยาตน : (นปุ.) การคืนของฝากไว้ให้แก่ เจ้าของ, การให้, การมอบให้. นิบทหน้า ยตฺ ธาตุในความมอบให้ ยุ ปัจ.
ปติกา : อิต. หญิงผู้มีเจ้าของ, หญิงผู้มีสามี
ปรปริคฺคหิตสญฺตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคล มีความสำคัญว่าของอันบุคคลอื่นหวงแหน แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความรู้ว่าของ อันคนอื่นหวงแหนแล้ว, ความเป็นผู้มี ความรู้ว่าของมีคนอื่นหวงแหน, ความรู้ว่า ของมีเจ้าของหวงแหน.
ปาปณิก : ป. เจ้าของร้าน, นายห้าง
มหิส : (ปุ.) สัตว์ผู้บูชาเจ้าของ, สัตว์ผู้นอนบนแผ่นดิน, ควาย, กระบือ, กาสร. มหฺ ปูชายํ, อิโส. มหีปุพฺโพ วา, สี สเย, อ, รสฺโส. ลงนิคคหิตอาคม เป็น มหึส บ้าง. เป็น มหีส เพราะไม่รัสสะอี ก็มี.
มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
ยญฺญสามี : ป. ผู้บูชายัญ, เจ้าของยัญ
วมฺปติ : (ปุ.) เจ้าแห่งโค, เจ้าของแห่งโค.
สปติ : (ปุ.) เจ้าของแห่งทรัพย์. ส+ปติ.
สสฺสามิก : ค. มีเจ้าของ, มีผัว
สาปเตยฺย : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์(ทรัพย์มรดก), ทรัพย์, สมบัติ. วิ. สสฺส ธนสฺส ปติ สปติ, ตสฺมึ สาธูติ สาปเตยฺยํ. สปติสฺส วา หิตํ สาปเตยฺยํ. เณยฺย ปัจ.
สามิตฺ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเจ้าของ, ความเป็นเจ้าของ
โสธยปณฺณ : (นปุ.) ปรุ๊ฟ คือแผ่นหนังสือที่พิมพ์มาให้เจ้าของต้นฉบับตรวจว่าเรียงถูกต้องตามต้นฉบับหรอไม่.
อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.
อนตฺต : (วิ.) มีตนหามิได้, ไม่มีตน, ไม่มีตัวตน, มิใช่ตน, มิใช่ตัวตน, บังคับมิได้, บังคับไม่ได้, อนัตตา (ไม่อยู่ในอำนาจของเรา ไม่มีเจ้าของที่แท้จริง).น+อตฺต.
อวิญฺญาณกธน : (นปุ.)ทรัพย์ไม่มีวิญญาณได้แก่เงินทองที่ดินเป็นต้น.
อสฺสามิก : (วิ.) ไม่มีบุคคลเป็นเจ้าของ, ไม่มีเจ้าของ.
อสามิก : ค. ไม่มีเจ้าของ, ไม่มีผู้ครอง