ปาปณิก : ป. เจ้าของร้าน, นายห้าง
อาปณิก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ในร้านเป็นที่มาแผ่, คนผู้เป็นเจ้าของแห่งร้านตลาด, คนผู้ซื้อและขาย, พ่อค้า.ส. อาปณิก.
ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ;
๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ;
๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
ปีฐ : นป. ตั่ง, ที่นั่ง, แคร่, ร้าน, ที่วางของขาย
สามิก : (ปุ.) นาย, เจ้า, เจ้าของ, ผัว. ว. สํ เอตสฺสาตฺถีติ สามิโก. อามิปจฺจโย. สกตฺเถ โก.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
ธนสามิ : (ปุ.) เจ้าของแห่งทรัพย์, เจ้าของ ทรัพย์.
กกฺการี : (อิต.) ฟัก, แฟง, ฟักเหลือง, (ฟักทอง), ฟักทอง, แตงกวา, แตงโม, แตงใหญ่ (แตงร้าน) บวบขม, ตะกั่วขาว. กุกฺ อาทาเน, อโร, อุสฺส อตฺตํ.
กปฺปกสาลา : (อิต.) ร้านตัดผม.
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
กมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของกรรม
กมฺมสามี : ป. เจ้าของกรรม
กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
เขตฺตสามิก : ป. เจ้าของน้ำ, เจ้าของสวน, เจ้าของที่ดิน
คนฺธาปณ : ป. ร้านขายของหอม
ควมฺปติ : ป. เจ้าของวัว, โคที่เป็นจ่าฝูง
คหปติ : ป. คหบดี, พ่อบ้าน, พ่อเรือน, ผู้ชายเป็นเจ้าของบ้าน
โคมิก : (ปุ.) เจ้าของโค วิ. คาโว อสฺส อตฺถีติ โคมิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มฺ อาคม.
โคมิก, โคมี : ค. เจ้าของโค
โควินฺท : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นหัวหน้าของโค,พญาโค. วิ. ควํ คุณฺณํ อินฺโท โควินฺโท. โค+อินฺท วฺ อาคม. เจ้าของโค วิ. ควํ อินฺโท อธิกโต ชโน โควินฺโท. ควํ วินฺทตีติ วา โควินฺโท. โคปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, อ. และยังแปลว่า เจ้าของวัวควาย, หัวหน้าคนเลี้ยงสัตว์, นาย โคบาล, พระกฤษณะ, พระพฤหัสบดี อีกด้วย.
ฆรเมสี : ป. ผู้ดูแลบ้าน, พ่อบ้าน, เจ้าของบ้าน
จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
เจลาล : ป. แตงร้าน, แตงกวา
เตลโกฏฺฐาคาร : ป., นป. คลังน้ำมัน, ที่เก็บน้ำมัน, โรงน้ำมัน, ร้านน้ำมัน
ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
ทานปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทาน, คนผู้เป็นใหญ่ในทาน, เจ้าของทาน, ทานบดี.
ทานาธิปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทาน, ฯลฯ, ทานาธิบดี. ทาน+อธิปติ.
ธนปติ : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่ในทรัพย์, เจ้าของทรัพย์, ธนบดี, ท้าวกุเวร.
ธเนสฺส ธเนสฺสร : (ปุ.) คนผู้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์, คนมั่งมี, คนมั่งคั่ง, คนรวย, ท้าวกุเวร. ธน+อีส, ธน+อิสฺสร.
ธมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า
ธมฺมสามิสฺสร ธมฺมสฺสามิสฺสร : (วิ.) ผู้เป็น ใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของแห่งธรรม.
นิยฺยาตน : (นปุ.) การคืนของฝากไว้ให้แก่ เจ้าของ, การให้, การมอบให้. นิบทหน้า ยตฺ ธาตุในความมอบให้ ยุ ปัจ.
ปณคณฺฐิ : ป. ร้านค้า
ปติกา : อิต. หญิงผู้มีเจ้าของ, หญิงผู้มีสามี
ปรปริคฺคหิตสญฺตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคล มีความสำคัญว่าของอันบุคคลอื่นหวงแหน แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความรู้ว่าของ อันคนอื่นหวงแหนแล้ว, ความเป็นผู้มี ความรู้ว่าของมีคนอื่นหวงแหน, ความรู้ว่า ของมีเจ้าของหวงแหน.
ปานมณฺฑล : นป., ปานาคาร ป., นป. ร้านเครื่องดื่ม, โรงดื่ม
โปตฺถกาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายหนังสือ, ร้านหนังสือ.
ผลาปาณ : ป. ร้านขายผลไม้
เภสชฺชาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายยา, ร้านยา.
โภชนาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายอาหาร, ร้านอาหาร.
มหิส : (ปุ.) สัตว์ผู้บูชาเจ้าของ, สัตว์ผู้นอนบนแผ่นดิน, ควาย, กระบือ, กาสร. มหฺ ปูชายํ, อิโส. มหีปุพฺโพ วา, สี สเย, อ, รสฺโส. ลงนิคคหิตอาคม เป็น มหึส บ้าง. เป็น มหีส เพราะไม่รัสสะอี ก็มี.
ยญฺญสามี : ป. ผู้บูชายัญ, เจ้าของยัญ
วมฺปติ : (ปุ.) เจ้าแห่งโค, เจ้าของแห่งโค.
สปติ : (ปุ.) เจ้าของแห่งทรัพย์. ส+ปติ.
สสฺสามิก : ค. มีเจ้าของ, มีผัว
สาปเตยฺย : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์(ทรัพย์มรดก), ทรัพย์, สมบัติ. วิ. สสฺส ธนสฺส ปติ สปติ, ตสฺมึ สาธูติ สาปเตยฺยํ. สปติสฺส วา หิตํ สาปเตยฺยํ. เณยฺย ปัจ.
สามิตฺ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเจ้าของ, ความเป็นเจ้าของ
โสณฺฑา : (อิต.) สถานที่ทำไว้เพื่อดื่มสุรา, โรงสุรา, ร้านสุรา. สนฺ ทาเน, อสฺโสตฺตํ, วณฺณวิกาโร จ.
โสธยปณฺณ : (นปุ.) ปรุ๊ฟ คือแผ่นหนังสือที่พิมพ์มาให้เจ้าของต้นฉบับตรวจว่าเรียงถูกต้องตามต้นฉบับหรอไม่.