มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
กิจฺฉ : (วิ.) ลำบาก, ฝืดเคือง, ทุกข์, ยาก, ทุกข์ยาก.
กิจฺฉติ : ก. ยาก, ลำบาก, ทุกข์, ขัดสน
พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
ลูข : ค. หยาบ; เศร้าหมอง; ทุกข์ , ขัดสน
สามิก : (ปุ.) นาย, เจ้า, เจ้าของ, ผัว. ว. สํ เอตสฺสาตฺถีติ สามิโก. อามิปจฺจโย. สกตฺเถ โก.
ทุกฺข : (วิ.) ยาก, ลำบาก, ชั่ว, เดือดร้อน, ไม่ สบาย, ทุกข์. ทุกฺข ตกฺกิริยายํ, อ.
อิน : (ปุ.) พระอาทิตย์, นาย, สามี, ผัว, เจ้า. วิ. เอสิ อิสฺสรตฺต มคมาสีติ อิโน. อิ คมเน, อิโน, โน วา ส. อิน.
มจฺจุราช : เจ้าแห่งความตาย
ภทฺทกจฺจานา ภทฺทกจฺจายา : (อิต.) ภัททกิจจานา ภัททกัจจายนา พระนามของพระมเหสีเจ้าชายสิทธัตถะ, พระนางพิมพา.
จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
จาตุรนฺต : (ปุ.) เจ้าแห่งทิศสี่, เจ้าแห่งทิศทั้งสี่. จตุ + อนฺต รฺอาคม.
ทุกฺขขย ทุกฺขกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งทุกข์, ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ทุกขขยะ ทุกขักขยะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. สพฺพทุกขานํ ขยการณตฺตา ทุกฺขขโย ทุกฺขกฺขโย วา.
ทุกฺขปปตฺต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งทุกข์ วิ. ทุกฺขํ ปตฺโต ทุกฺขปฺปตฺโต.
ทุกฺขภุมฺมิ, - ภูมิ : อิต. ทุกขภูมิ, ภูมิจิตอันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์
ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
เหลา : (อิต.) ธรรมชาติตัดซึ่งทุกข์, เหลา ชื่อกิริยาท่าทาง. น่าเสน่หาของหญิง. วิ. หึ ทุกฺขํ ลุนาตีติ เหลา. หิปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อิตฺถิยํ อา. หิลฺ หาวกรเณ, อ. เป็น เหฬา บ้าง.
อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
ทุกฺขวาจา : อิต. วาจาที่ก่อให้เกิดทุกข์, คำพูดก้าวร้าว
ทุกฺขี : ค. ผู้มีทุกข์, ผู้เป็นทุกข์
นิทฺทุกข : (วิ.) มีทุกข์ออกแล้ว นิกฺขนฺต+ทฺข, ออกแล้วจากทุกข์ ทุกฺข+นิกฺขนฺต ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบท เอาไปไว้หน้า, ไม่มี ทุกข์, ปราศจากทุกข์, นิรทุกข์.
กณฺฐก :
ป. ดู กณฺฏก, ชื่อม้าตัวหนึ่งที่เป็นพาหนะของเจ้าชายสิทธัตถะ
กทร : ๑. ป. ไม้พะยอมขาว, กฤษณา; เลื่อย;
๒. ค. ระทมทุกข์, เศร้าใจ
กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
กลิยุคฺค : ป. กลียุค, สมัยที่ทุกข์ยาก, ยุคร้าย
กสิร : (วิ.) ทุกข์, ลำบาก, คับแคบ, ฝืดเคือง, กระเสียร.
กามทุกฺข : นป. ความทุกข์เพราะกาม, กามทุกข์
กายทรถ : ป. ความกระวนกระวายแห่งร่างกาย, ความทุกข์กาย
กายทุกฺข : นป. ทุกข์ทางกาย, ความลำบากกาย
กายิกทุกฺข : นป. ทุกข์ทางกาย
กิจฺจกร : ค. กิจกร, ผู้ทำกิจ, เจ้าหน้าที่
กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
กิรินฺท : (ปุ.) ช้างผู้เป็นจอมแห่งช้าง, ช้าง ผู้เป็นเจ้า.
กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
กุถิต : ค. เดือด, เดือดพล่าน; (อาหาร)ที่ย่อยแล้ว; ซึ่งถูกทรมาน, ซึ่งระทมทุกข์
โกฏฐาคาริก : ป. เจ้าหน้าที่รักษาคลัง, คนรักษาโกดัง
โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา;
๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
ขตฺติย : (ปุ.) พระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าอยู่หัว, กษัตริย์ เป็นชาตินักรบ เป็นวรรณที่ ๑ ในวรรณ ๔, เจ้านาย. วิ. ขตฺตสฺส อปจฺจํ ขตฺติโย. ณิก ปัจ. แปลง ก เป็น ย รูปฯ ๓๕๓.
ขตฺติยา, - ยานี : อิต. นางกษัตริย์, เจ้าหญิง
ขนฺธปริหรณทุกฺข : (นปุ.) ทุกข์ในเพราะอันบริหารซึ่งขันธ์
ขิชฺชติ : ก. เดือดร้อน, ระทมทุกข์
ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
เขตฺตชิน : ค. เจ้าที่ดิน, ผู้มีที่ดินอยู่ในปกครองมาก
เขท : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โณ.
คณฺฑมฺพ : ป. ต้นคัณฑามพพฤกษ์, ต้นมะม่วงชนิดหนึ่งเป็นที่ซึ่งพระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์
คหปตานี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเจ้าแห่งเรือน, ฯลฯ.
คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
โคตฺรภู : ค. บุคคลซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างปุถุชนกับพระอริยเจ้า