ปญฺญา : อิต. ความรู้, ความเข้าใจ
ธิติ : (อิต.) ความทรงไว้, ปัญญาเป็นเครื่อง ทรง, ปัญญา, ธา ธารเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
เมธา : (อิต.) ความรู้, ความฉลาด, ความฉลาดรอบคอบ, ปัญญา, ปัญญาเครื่องกำจัดกิเลส, ปรีชา. วิ. วิเลเสเมธตีติเมธา (กำจัด กิเลส). เมธฺ หึสายํ, อ. เมธาติ สิริยาติ วา เมธา (ไปกันด้วยความดี). เมธฺ สงฺคเม. สุขุมมฺปิ อตฺถํ ธมฺมญฺจ ขิปฺป เมว เมตีติ เมธา (ถือเอาผลและเหตุอันสุขุมพลัน). เม อาทาเน, โธ.
สามิก : (ปุ.) นาย, เจ้า, เจ้าของ, ผัว. ว. สํ เอตสฺสาตฺถีติ สามิโก. อามิปจฺจโย. สกตฺเถ โก.
อภิญฺญา : (อิต.) ความรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ปัญญาอันบุรุษพึงรู้ยิ่ง, ปัญญาเครื่องรู้ยิ่ง, ความรู้ยิ่ง, ความฉลาด, ปัญญา, กฏหมาย.
นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
ทุปญฺญ ทุปฺปญฺญ : (วิ.) มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีปัญญาชั่ว, มีปัญญา ทราม, มีปัญญาเสีย. วิ ทุฏฺฐา ปญฺญา ยสฺส โส ทุปญฺโญ ทุปฺปญฺโญ วา.
ธีมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มีปัญญา. วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีมา. มนฺตุ ปัจ.
ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
มหาปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญามาก วิ. มหตี ปญฺญา ยสฺส โส มหาปญฺโญ.
ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
ทม : (ปุ.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, การฝึกสอน, การข่ม, การข่มขี่, การข่มใจ, การปราบ, การอดทน, ความทรมาน, ฯ ลฯ , อาชญา, การปรับไหม, ความรอบรู้, ปัญญา. วิ. ทมนํ ทโม. ทมฺ ทมเน, อ. ส. ทม.
ธมฺมปฏิสมฺภิณาฌ : (นปุ.) ความรู้ (ปัญญา) อันแตกฉานในเหตุที่ทำให้เกิด ผล
ธิ : (อิต.) คุณชาติผู้ทรงไว้ซื่งประโยชน์, ปรีชา, ปัญญา. วิ. อตฺถํ ธาเรตีติ ธิ. ธา ธารเณ, อิ.
ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
โธนา : (อิต.) ปัญญาชื่อว่าโธนา, ปัญญา.
ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
โพชฺฌา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ปัญญาเป็นเครื่องบรรลุ, ความรู้, ปัญญา.
มนฺตา : (อิต.) ปรีชา, วิชา, ปัญญา. มนฺ ญาเณ, อนฺโต. ลบที่สุดธาตุ. อภิฯ.
มุติ : (อิต.) ความรู้, ความรู้สึก, ความเข้าใจ, ปรีชา, ปัญญา. มุนฺ ญาเณ, ติ. นฺโลโป.
สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
อตฺถปฏิสมฺภิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้(ปัญญา)อันแตกฉานในผล, ปัญญาที่แตกฉานในผลทั้งปวงอันเกิดจากเหตุทั้งปวง, ความรู้อันแตกฉานในอรรถ.
อนุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็น, การเพ่งเล็ง, การพิจารณา, การพิจารณาเห็น, การพิจารณาเนืองๆ, ความตามเห็น, ฯลฯ, อนุปัสสนาพิจารณาด้วยปัญญา, ปัญญา.อนุปสฺสนาวุจฺจติปญฺญา.ไตร. ๓๐/๘๐/๑๖๐.
อปลทฺธิ : อิต. ปัญญา ; ลาภ
อิน : (ปุ.) พระอาทิตย์, นาย, สามี, ผัว, เจ้า. วิ. เอสิ อิสฺสรตฺต มคมาสีติ อิโน. อิ คมเน, อิโน, โน วา ส. อิน.
อุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้ ความเข้าใจ (ญาณ), ความได้, ปัญญา. อุปปุพฺโพ, ลภฺ ลาเภ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบ ภฺ. อุปลาป
มจฺจุราช : เจ้าแห่งความตาย
ภทฺทกจฺจานา ภทฺทกจฺจายา : (อิต.) ภัททกิจจานา ภัททกัจจายนา พระนามของพระมเหสีเจ้าชายสิทธัตถะ, พระนางพิมพา.
จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
จาตุรนฺต : (ปุ.) เจ้าแห่งทิศสี่, เจ้าแห่งทิศทั้งสี่. จตุ + อนฺต รฺอาคม.
ปญฺญาจกฺขุ : นป. จักษุคือปัญญา
ปญฺญาวิมุตฺติ : อิต. ความหลุดพ้นเพราะปัญญา
ปญฺญาสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมตัวปัญญา
จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
สมฺมปปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาโดยชอบ. เป็นภินนาธิกรณพหุพ. ผู้มีปัญญาชอบ. เป็น ฉ. พหุพ. แปล สมฺมา เป็นวิเสสนะของปญฺญา ว่า “ชอบ”.
กณฺฐก :
ป. ดู กณฺฏก, ชื่อม้าตัวหนึ่งที่เป็นพาหนะของเจ้าชายสิทธัตถะ
กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
กิจฺจกร : ค. กิจกร, ผู้ทำกิจ, เจ้าหน้าที่
กิรินฺท : (ปุ.) ช้างผู้เป็นจอมแห่งช้าง, ช้าง ผู้เป็นเจ้า.
กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
โกฏฐาคาริก : ป. เจ้าหน้าที่รักษาคลัง, คนรักษาโกดัง
โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา;
๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
ขตฺติย : (ปุ.) พระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าอยู่หัว, กษัตริย์ เป็นชาตินักรบ เป็นวรรณที่ ๑ ในวรรณ ๔, เจ้านาย. วิ. ขตฺตสฺส อปจฺจํ ขตฺติโย. ณิก ปัจ. แปลง ก เป็น ย รูปฯ ๓๕๓.
ขตฺติยา, - ยานี : อิต. นางกษัตริย์, เจ้าหญิง
เขตฺตชิน : ค. เจ้าที่ดิน, ผู้มีที่ดินอยู่ในปกครองมาก
คณฺฑมฺพ : ป. ต้นคัณฑามพพฤกษ์, ต้นมะม่วงชนิดหนึ่งเป็นที่ซึ่งพระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์
คหปตานี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเจ้าแห่งเรือน, ฯลฯ.