เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
เทสปาล : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
เทสมนฺตี : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
โกฏฐ : ๑. ป., นป. กระเพาะ, ลำไส้, ท้อง; ยุ้ง, ฉาง, ห้องเก็บของ, กุฏิพระ; ช่อง, โพรง, ห้อง;
๒. นป. ต้นโกฐ;
๓. ป. นกเปล้า
เทหมชฺฌ : (นปุ.) ท่ามกลางแห่งกาย, ท้อง, อุทร
นาภิ : (อิต.) ดุม ชื่อของส่วนกลางล้อเกวียน หรือล้อรถที่มีรูสำหรับสอด, สะดือ, ท้อง, ศูนย์กลาง. วิ. นภตีติ นาภฺ หึสายํ, อิ, ณิ วา. ส.นาภิ, นาภี.
นาภิ, นาภี : อิต. สะดือ, ท้อง; ดุมเกวียน, ดุมรถ
วิสุ : อ. คนละส่วน, เฉพาะ
อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
อภิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, จำเพาะ, เฉพาะ, เฉพาะหน้า, เหนือ, หนัก.ส.อภิ.
อสาธารณ : ค. อสาธารณะ, ไม่ทั่วไป, เฉพาะ
อาเวณิก, - ณิย : ค. พิเศษ, เฉพาะ, คนละส่วน, เป็นอิสระ, เป็นแผนกๆ
โอธิโส : ก. วิ. โดยส่วน, โดยถ่องแถว, เฉพาะ, พิเศษ
คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
ภิกฺขุสตสหสฺสปริวาร : (วิ.) มีแสนแห่งภิกษุเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตลุ. มี ฉ. ตัป. เป็น ท้อง.
เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
โอธิ : (วิ.) เจาะจง, เฉพาะ.
กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
กตญฺญูกตเวที : (ปุ.) บุคคลผู้รู้คุณท่านและ ตอบแทนคุณท่าน, ฯลฯ. ไทยตัดพูดเฉพาะ กตัญญู แต่ความหมาย หมายถึง กตเวที ด้วย.
กนิฏฐ : (ปุ.) น้องชายผู้น้อยที่สุด, น้องชาย สุดท้อง, น้องชาย. ส. กนิษฺฐ.
กนิฏฺฐ ภคินี กนิฏฺฐา : (อิต.) น้องหญิงผู้น้อย ที่สุด, น้องหญิงคนสุดท้อง, น้องหญิง, น้องสาว.
กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
กุจฺฉิ : ป., อิต. ท้อง, ครรภ์, โพรง, ภายใน
กุจฺฉิฏฐ : ๑. ป. ลมในกายประเภทหนึ่ง, ลมในท้อง ;
๒. ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในท้อง
กุจฺฉิฏฺฐ : (ปุ.) กุจฉิฏฐะ ชื่อลมภายในอย่างที่ ๓ ใน ๖ อย่าง, ลมในท้อง. วิ. กุจฺฉิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กุจฺฉิฏฺโฐ. กุจฺฉิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺ สํโยโค.
กุจฺฉิฑาห, - ทาห : ป. ความเร่าร้อนในท้อง, การอักเสบในกระเพาะ
กุจฺฉิปริหาร : นป. การบริหารท้อง, การเลี้ยงชีวิต
กุจฺฉิปริหาริก : ค. ผู้บริหารท้อง, (อาหาร) สำหรับบริหารท้อง
กุจฺฉิปุร : (วิ.) ยังท้องให้เต็ม, เต็มในท้อง (พอเต็มท้อง พออิ่มท้อง).
กุจฺฉิโรค : ป. โรคท้อง, โรคในท้อง
กุจฺฉิวิการ : ป. ความพิการแห่งท้อง, ลำไส้พิการ
กุจฺฉิวิตฺถมฺภน : นป. การค้ำจุนท้อง, การช่วยเหลือให้ลำไส้ปฏิบัติงานได้ตามปกติ (การย่อยอาหาร)
กุจฺฉิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้ตั้งอยู่ในท้อง, สัตว์ผู้ เกิดอยู่ในท้อง, สัตว์ผู้อยู่ในท้อง.
กุญฺช กุญฺชนิ : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอัน สะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น (ปพฺพ ภาทีนํ คพฺภรเทเส ลตาปลฺลวติณา ทีหิ ปิหิโตทเร)., หุบเขา. กุญฺชฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, นิ.
กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
กูฏาคารกุจฺฉิปฺปมาณ : (วิ.) มีท้องแห่งเรือนยอด เป็นประมาณ.
โกฏฐฏฐิ : อิต. กระดูกท้อง
โกฏฐพฺภนฺตร : นป. ภายในแห่งท้อง, ลำไส้
โกฏฐาส : (ปุ.) ส่วน, ลมในท้อง. วิ. โกฏฺเฐ เสตีติ โกฏฺฐาโส.