จุมฺพฏ, - ฏก : นป. เทริด, เชิง, เครื่องรองภาชนะ, หมอน
ปาท : ป., นป. เท้า, เชิง, เสี้ยว, เศษหนึ่งส่วนสี่; ราก, ปุ่ม
ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
ชีรก : (นปุ.) ผักชี, ยี่หร่า, เทียนขาว, เทียน เยาวพาณี, กะเม็ง.
ธารก : (ปุ.) การทรง, ฯลฯ, ความทรง, ฯลฯ, ความทนทานได้, เชิง (ตีนซึ่งเป็นฐานที่ ตั้งของ). ธาร+ก สกัด.
ปฏิปาทก : ป. ผู้ให้สำเร็จ, ผู้จัดแจง, ผู้จัดหา; เชิง (เตียง), ที่รอง (เตียง)
อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
กมฺพล : (ปุ.) ผ้าทอด้วยขนสัตว์, ผ้าขนสัตว์, ผ้ากัมพล (ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง), กัมพล ชื่อนาคที่อยู่เชิงเขาสุเมรุ. กมุกนฺติยํ, อโล, พฺอาคโม. อภิฯ กัจฯ และรูปฯ เป็น กมฺพฺ สญฺจลเน, อโล. ส. กมฺพล.
กุลงฺกปาทก : ป. กรอบเชิงฝา
เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
เกวลปริปุณฺณ : ค. บริบูรณ์โดยสิ้นเชิง, ครบบริบูรณ์
เกวลี : ค. ผู้หมดกิเลสโดยสิ้นเชิง (พระอรหันต์)
จงฺโกฏก จงฺโคฎก : (ปุ.) ผอบ (ตลับมีเชิง มี ยอด), หีบ, เตียบ (ตะลุ่มปากผายมีผ้า ครอบ สำหรับใส่ของกิน). กุฎฺ เฉทเน, โณ, สกตฺเถโก. เทว๎ภาวะ ก นิคคหิต- อาคม. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ค.
จิตก : (ปุ.) เชิงตะกอน ( ฐานสำหรับเผาศพ ) วิ. จิยฺยเต ยตฺถ โส จิตโก. จิ จเย, โต สตฺเถ โก. เป็น จิตกา ( อิต.) ก็มี.
จิตกาธาร : (ปุ.) เชิงตะกอน, ที่เผาศพ.
จิตา : (อิต.) เชิงตะกอน วิ. จิยฺยเต ยตฺถ สา จิตา. จิ จเย, โต, อิตฺถิยํ อา.
จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
ชีวก : ๑. ป. เทียนขาว, กะเม็ง ;
๒. ค. ผู้เป็นอยู่
ชีวนี ชีวนฺตี : (อิต.) เทียนเยาวพาณี วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชีวนี ชีวนฺตี วา. ชีวฺ+ยุ, อนฺต ปัจ. อี อิต.
ตุงฺคี : (ปุ.) เงื้อม งะเงื้อม ( สิ่งที่สูงง้ำออกมา), เชิงผา, กลางคืน, ขมิ้น, สิ่งที่แฉลบ เหมือนกบไสไม้ ? ตุชฺ หึสาสหเณสุ, อี.
ทพฺพิโหม : นป. การบูชาไฟโดยใช้ทัพพีตักของเทลงในไฟ, พิธีเบิกแว่นเวียนเทียน
ทีปกปลฺลิกา : (อิต.) ตะคัน ชื่อเครื่องปั้นดิน เผา รูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบ หรือเผากำยาน หรือใช้ใส่น้ำมันตามไฟ อย่างตะเกียง, โคมตั้ง.
ธูปทีป : (ปุ.) ธูปและเทียน, ธูปเทียน.
ธูมกฏฉฺฉุ : (ปุ.) ทัพพีตักควัน, แว่นเวียนเทียน.
นิปฺปริยาย : ค. ไม่แตกต่าง, ไม่อ้อมค้อม, แน่ชัด, ตรงไปตรงมา, สิ้นเชิง
ปตฺตกณฺโฑลิกา : อิต. หม้อเก็บบาตร, กระชุสำหรับเก็บบาตร, เชิงรองบาตร
ปตฺตมาฬก : ป. แท่นเก็บบาตร, เชิงบาตร
ปตฺตาธาร : (ปุ.) เชิงบาตร, ตีนบาตร.
ปตฺตาธารก : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
ปพฺพตปาท : ป. ตีนเขา, เชิงเขา
ภิตฺติปาท : ป. เชิงฝา
มญฺชิฏฺฐ : (ปุ.) กองเชิง, ตัวด้วง, ไม้ช้าง, ไม้มะหาด.
มธุรก : (ปุ.) เทียนยาว, เทียนเยาวภาณี, มธุรสตาย มธุรโก. อุปมาเณ โก.
มุทยนฺตี : (ปุ.) เทียนป่า.
วฏฺฏิ, วฏฺฏิกา : อิต. ไส้เทียน, เกลียว, สาย
สุทฺธ : (วิ.) ไม่เจือปน, หมดจด, แจ่มใส, ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์, ล้วน, ล้วน ๆ, แท้, สิ้นเชิง, ผุดผ่อง. สุทธฺ โสเจยฺเย, โต, ทฺวิตฺตํ, ธโลโป.
โสปานปาท : ป. เชิงบันได
องฺคนา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง, นาง. นางผู้มีอวัยะงาม.องฺคฺ คมเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๙๒ ลง น ปัจ. ส. องฺคนาว่านางผู้มีแขนขากลมดังเทียน.
องฺคาร : (ปุ.) ถ่าน, ถ่านเพลิง, เถ้า.วิ. องฺคติหานึ คจฺฉตีติ องฺคาโร. องฺคฺ คมเน, อาโรเป็นนปุ.ก็มี เชิงตะกอน ก็แปล. ส. องฺคาร.
องฺคารกปลฺล : (นปุ.) กระเบื้องแห่งถ่านเพลิง, เชิงกราน, อั้งโล่, เตาอั้งโล่, ตะคันชื่อเครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบหรือเผากำยาน.
อทฺทาลก : (นปุ.) เชิงเทิน, หอรบ.อทฺทฺหึสายํ, อาโล, สตฺเถ โก.
อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
อวิค : (นปุ.) ที่ที่บุคคลหนีไม่พ้น, ที่สำหรับเผาศพ, เชิงตะกอน.น+วิ+คมฺธาตุรปัจ.
อเสส : ก. วิ. โดยไม่มีส่วนเหลือ, สิ้นเชิง
อาธารก : (ปุ.) เชิงบาตรเป็นที่มาทรงไว้, เชิงบาตรเป็นที่รอง, เชิงบาตร.ส. อาธาร.
อุทฺทาป : (ปุ.) เชิงเทิน. วิ. สพฺพเคหานํ วิเสเสน ปกาสนฺโต อุทฺทาโป. อุปุพฺโพ, ทีปฺ ปกาสเน, อ, รโสฺ, อิสฺสา.
อุปการิกา : (อิต.) เชิงเทิน, วิ. สํคมฺม กโรติ ตนฺติ อุปการิกา. อุปปุพฺโพ, กร. กรเณ, ณฺวุ.
อุปการิย : ป. แนวเชิงเทิน, เชิงกำแพง
อุปจฺจกา : (อิต.) พื้นใกล้ส่วนเบื้องต่ำแห่งภูเขา, พื้นดินเชิงเขา. วิ. เสลสฺส อโธภาคาสนฺน- ภูมิ อุปจฺจกา. อุปศัพท์นิบาต จฺจก ปัจ. อา อิต.