Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เชื่อมั่น, เชื่อ, มั่น , then ชอ, ชอมน, เชื่อ, เชื่อมั่น, มน, มั่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เชื่อมั่น, 377 found, display 1-50
  1. โอกปฺเปติ : ก. ทำใจให้แน่วแน่, ไว้วางใจ, เชื่อมั่น
  2. อภิสทฺทหติ : ก. เชื่อมั่น, เชื่อถือ, เลื่อมใส, นับถือ
  3. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  4. ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  5. สีลพฺพตปรามาส : (ปุ.) การถือมั่นศีลและพรต, การยึดมั่นศีลและพรต, การจับต้องศีลหรือพรต, สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือความศักดิ์สิทธิ์ด้วยเข้าใจว่ามีได้ด้วยศีลหรือวัตรปฏิบัติ เป็นการรักษาหรือบำเพ็ญพรตด้วยความเชื่อเรืองบันดาลไม่เชื่อกรรม เชื่อความขลัง.
  6. อวิสารท : ค. ไม่แกล้วกล้า, ไม่อาจหาญ, ไม่เชื่อมั่น
  7. อสงฺกิต, - กิย : ค. ไม่รังเกียจ, ไม่ระแวง, ไม่สงสัย, มีความเชื่อมั่น
  8. โอกปฺปนา : อิต. การทำให้แน่วแน่, ความไว้วางใจ, ความเชื่อมั่น
  9. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  10. เถร : (วิ.) แก่, เฒ่า, มั่น, คง, มั่นคง, ใหญ่, อ้วน.
  11. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  12. อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
  13. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  14. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  15. เถริย : (วิ.) มั่น. มั่นคง, ยั่งยืน.
  16. ปรกฺกม, - มน : ป., นป. ความบากบั่น, ความมุ่งมั่น, ความพากเพียร
  17. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  18. ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
  19. เถต : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, แข็งแรง, แน่นอน, เป็นหลักฐาน. ฐา ถา วา คตินิวุตฺติยํ, โต. แปลง อา เป็น เอ ถ้าตั้ง ฐา พึงแปลง เป็น ถา.
  20. เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
  21. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  22. ทฬฺหี : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง.
  23. อุปาทานขนฺธ : (ปุ.) ขันธ์อัน สัตว์เข้าไปยึดถือไว้, ขันธ์ที่สัตว์เข้าไปถือ มั่น, ขันธ์ที่สัตว์เข้าไปยึดถือไว้.
  24. กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
  25. กมฺมสมาทาน : (นปุ.) การยึดมั่นในกรรม, การถือกรรม.
  26. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  27. กามุปาทาน : (นปุ.) ความยึดมั่นในกาม, ความถือมั่นในกาม.
  28. กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
  29. กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
  30. กุลปาลิกา : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, ลูกสาว- ผู้เชื่อฟัง, ลูกสาวผู้ปฏิบัติตามธรรมของ ตระกูล, ลูกสาวผู้รักษาตระกูล. วิ. กุลํ ปาเลตีติ กุลปาลิกา. กุลสทฺทุปฺปทํ, ปาลฺ รกฺขเณ, ณฺวุ, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
  31. โกฏ : ค. (ภูเขา) มียอด; ป้อม, ที่มั่น
  32. โกฏฺฏ : (ปุ.) ที่มั่น, ป้อม. โกฏฺฏฺ เฉทเน, อ.ส. โกฏฺฏ.
  33. คาธติ : ก. หยั่งลง, ตั้งมั่น
  34. จิตฺตสมาธิ : ป. ความตั้งมั่นแห่งจิต, ความแน่วแน่แห่งจิต
  35. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  36. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  37. เจโตสมาธิ : ป. ความตั้งมั่นแห่งจิต
  38. ฉนฺทสามาธิปธานสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง อันเป็นประธานคือความตั้งมั่นแห่งความพอใจ.
  39. ฐิตจิตฺต : ค. ผู้มีจิตตั้งมั่นแล้ว, ผู้ควบคุมจิตได้
  40. ฐิตตฺต : ๑. นป. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น, ๒. ผู้มีตนอันตั้งมั่นแล้ว, ผู้บังคับหรือควบคุมตนได้
  41. ฐิตตา : อิต. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น
  42. ฐิติภาคิย : ค. ผู้มีส่วนแห่งความตั้งมั่น, ผู้มีหลักฐาน, ผู้มีความยั่งยืน
  43. ตกฺเกติ : ก. นึก, ตรึก, ตรอง, เชื่อใจ
  44. ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
  45. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  46. ถาวร : (วิ.) ตั้งอยู่, ตั้งมั่น, มั่นคง, คงที่, ยั่งยืน, ไม่เคลื่อนไหว. ถา คตินิวฺติยํ, วโร.
  47. ถิร : (ปุ.) คนผู้มั่น, ฯลฯ.
  48. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  49. ทฬฺหีกมฺม : (นปุ.) การทำให้มั่น, การทำให้มั่นคง.
  50. ทฬฺหีกรณ : (นปุ.) การทำให้มั่น, การทำให้ มั่นคง, การทำการงานให้มั่น, การทำ การงานให้เต็มมือ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-377

(0.0692 sec)