ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
กุลปาลิกา : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, ลูกสาว- ผู้เชื่อฟัง, ลูกสาวผู้ปฏิบัติตามธรรมของ ตระกูล, ลูกสาวผู้รักษาตระกูล. วิ. กุลํ ปาเลตีติ กุลปาลิกา. กุลสทฺทุปฺปทํ, ปาลฺ รกฺขเณ, ณฺวุ, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
ตกฺเกติ : ก. นึก, ตรึก, ตรอง, เชื่อใจ
ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
ทิฏฺฐิ : อิต. ทิฐิ, ความเห็น, ทฤษฎี, ความเชื่อถือ, หลักสิทธิ; ความเห็นผิด
ทิฏฺฐิคต : นป. ทิฐิ, ความเห็น, ความเชื่อถือ, ความเห็นผิด
นตฺถิกวาท, - วาที : ป. ผู้มีปกติกล่าวว่าไม่มี, ผู้เชื่อในทฤษฎีที่ว่าไม่มีหรือขาดสูญ
นิฏฐ : (วิ.) เชื่อแน่, มั่นใจ, สำเร็จ. นิ+ฐา+อปัจ. ซ้อน ฏ.
นิปจฺจการ : ป. ความถ่อมตัว, ความเคารพ, ความเชื่อฟัง, ความสุภาพ, ความนับถือ, ความช่วยเหลือ
นิพฺพิจิกิจฺฉ : ค. อันหมดสงสัย, แน่ใจ, เชื่อใจ
นิวาตวุตฺตี : ค. ซึ่งสุภาพ, ซึ่งอ่อนน้อม, ซึ่งเชื่อฟัง
ปจฺจยิก : ค. ควรไว้วางใจ, ควรเชื่อถือได้
ปฏิสฺสว : ป. การรับคำ, คำมั่น, สัญญา, การยอมฟังคำ, การเชื่อฟัง
ปฏิสฺสา, (ปติสฺสา) : อิต. ความเชื่อฟัง, ความเคารพ
ปฏิสฺสาวี : ค. ผู้รับคำ, ผู้ยอมฟังคำ, ผู้ยินยอม, ผู้เต็มใจ, ผู้เชื่อฟัง
ปตฺติย : ค., ป. ซึ่งควรถึง, พึงบรรลุ; ซึ่งควรเชื่อถือ, น่าไว้ใจ; ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
ปตฺติยายติ : ก. ประพฤติเพียงดังว่าเชื่อ, เชื่อถือ, ไว้ใจ
ปตฺติยายน : นป. ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
ปตฺถคู : ค. ผู้เชื่อฟังคำ, ผู้ว่าง่าย; เดินไป, เที่ยวไป
ปทฺธคู : ค. ผู้เชื่อฟัง, ผู้ว่าง่าย, ผู้คอยรับใช้; ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เดินทาง
ปมาณ : (วิ.) พอเหมาะ, เป็นประมาณ, เป็น หลักฐาน, เป็นที่เชื่อถือได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
พุทฺธปสนฺน : ค. ผู้เชื่อหรือเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า
ยถาสทฺธ : ก. วิ. ตามศรัทธาของตน, ตามความเชื่อของตน
วจนกร : ค. ผู้เชื่อฟังคำ
วิตณฺฑวาท : ป. พูดให้หลงเชื่อ
วิเธยฺย : ค. ควรเชื่อฟัง
สทฺทหติ : ก. เชื่อฟัง
สทฺทหน : นป. การเชื่อฟัง
สทฺธ : ค. มีศรัทธา, มีความเชื่อ
สทฺธา : อิต. ความเชื่อ
สทฺธาเทยฺย : ค. อันเขาให้ด้วยความเชื่อถือ
สทฺธาลุ : ค. มีความเชื่อ
สีลพฺพตปรามาส : (ปุ.) การถือมั่นศีลและพรต, การยึดมั่นศีลและพรต, การจับต้องศีลหรือพรต, สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือความศักดิ์สิทธิ์ด้วยเข้าใจว่ามีได้ด้วยศีลหรือวัตรปฏิบัติ เป็นการรักษาหรือบำเพ็ญพรตด้วยความเชื่อเรืองบันดาลไม่เชื่อกรรม เชื่อความขลัง.
สุสฺสูส : (วิ.) ฟังด้วยดี, เชื่อฟัง, เชื่อถ้อยฟังคำ. สุฎฺฐุปุพฺโพ, สุ สวเน, โส, ทีโฆ, สฺสํโยโค.
อคฺคหิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งบุคคล เป็นผู้มีจิตอันใคร ๆ เชื่อไม่ได้, ความที่แห่งจิต เป็นจิตอันใคร ๆ ไว้ใจไม่ได้.
อตฺตทีป : ค. พึ่งตนเอง, เชื่อตนเอง
อธิมุจฺจน : (นปุ.) ความน้อมใจเชื่อ, ความแน่ใจอธิ+มุจฺ+ย ปัจ.ประจำธาตุ ยุ ปัจ.
อธิมุตฺต : (นปุ.?)ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความน้อมใจเชื่อ, ความพอใจ, จิตนอนอยู่, อัชฌาสัย, อัธยาศัย.อธิปุพฺโพ, มุจฺ โมจเนนิจฺฉเย วา, โต, จสฺสโต.
อธิมุตฺติก : ค. ผู้น้อมใจเชื่อ, ผู้นึกน้อม
อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
อนสฺสว : (วิ.) ไม่ฟังตาม, ไม่เชื่อฟัง, ว่าไม่ฟัง.อนุ+สุ ธาตุ ณปัจ. แปลงอุ ที่อนุเป็นอพฤทธิอุที่สุเป็นโอ แปลงโอเป็น อวซ้อนสฺ.
อนุพฺพต : ค. ผู้มีวัตรปฏิบัติอันสมควร, ผู้เชื่อถือ, ผู้เลื่อมใส
อปฺปติสฺส, - ติสฺสว : ค. ว่ายาก, สอนยาก, ดื้อ, ไม่เชื่อฟัง