นมติ : ก. นอบน้อม, ก้มกราบ, ไหว้
นมสฺสติ : ก. นมัสการ, เคารพ, ไหว้
นาเมติ : ก. ก้ม, นอบนบ, ไหว้, กราบ, ให้น้อมลง
ปณาเมติ : ป. น้อม, ก้ม, โค้ง, ประนม, ไหว้
หว : (ปุ.) การเรียก, การร้องเรียก. หู อวฺหาเน, โณ. หฺว อวฺหาเน วา, อ. ส. หว.
นมสฺสการ : (ปุ.) การทำซึ่งการนอบน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. คำนมัสการใช้ในความหมาย ว่า ไหว้ เป็นส่วนมาก. ส. นมสฺการ.
นโม : (อัพ. นิบาต) ไหว้. ลงในอรรถ ปฐมา ทุติยาวิภัติ รูปฯ และอภิฯ.
วนฺทติ : ก. ไหว้
หวิ : (นปุ.) การให้, การบูชา, ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู หพฺย ทาเน, อิ.
กตญฺชลี : ค. ผู้ประนมมือไหว้แล้ว
จรุ : (ปุ.) การหุงข้าวสังเวยเทวดา, ภาชนะ เครื่องเซ่นสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. วิ. จรียติ อิกฺขียตีติ จรุ. จรฺธาตุ อุ ปัจ.
เจติยวนฺทนา : อิต. การไหว้พระเจดีย์
ถุสโหม : นป. พิธีซัดแกลบบูชาไฟ, การเซ่นสรวงด้วยแกลบ
ทิกฺขา : (อิต.) การบูชา, การเซ่นสรวง. ทิกฺข ธาตุในความบูชา ฯลฯ, อ ปัจ. อา อิต.
ธร : (นปุ.)การทรงไหว้,การยืดไว้,การถือไว้.ธรฺธารเณ,อ,ยุ. (ปุ.) ธรร
นม : (นปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
นมกฺการ : นป. การกระทำความนอบน้อม, การไหว้
นมน : (ปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
นมสฺสน : (นปุ.) การนอบน้อม, การไหว้, การน้อมไหว้, การกราบ, การกราบไหว้, นมสฺสฺ วนฺทเน, ยุ.
ปณาม : ป. การนอบน้อม, การไหว้, การกราบไหว้, การทำความเคารพ
ปณามิต : กิต. (อันเขา) นอบน้อมแล้ว, ไหว้แล้ว, ประนมมือแล้ว, ขับไล่แล้ว
ปนฺถสกุณ : ป. ชื่อพิธีบูชายัญอย่างหนึ่งที่เขาทำการเซ่นสรวงแก่เทวดาเจ้าทาง (สันนิษฐานว่าของเซ่นได้แก่มนุษย์ที่เขาฆ่าแล้วนำมาย่างอย่างนก)
ปุพฺพเปตพลิ : (ปุ.) การบูชาแก่ญาติผู้ละไปแล้วก่อน, การบูชาแก่ญาติผู้ตายไปก่อน, เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้ แก่ผู้ละโลกไปแล้วก่อน, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปก่อน, บุญกุศลที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน.
เปตพลิ : (ปุ.) เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้แก่บุคคลผู้ละโลกไปแล้ว, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปแล้ว.
ผ : (ปุ.) ลม, การบูชา, การเซ่นสรวง, ความโกรธ.
พลิกมุม : (นปุ.) การทำการบูชา, การทำการเซ่น, เครื่องบูชา, เครื่องบูชาแห่งศาสนา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวยเทวดา, เครื่องพลีกรรม, พลีกรรม (การบูชา พิธีบูชา).
ยชนก : ค. ผู้เซ่น, ผู้บูชา
ยชาเปติ : ก. ให้เซ่น, ให้บูชา
ยญฺญ : (ปุ.) การบูชา, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การบวงสรวง, ยัญ (การบวงสรวงชนิดหนึ่งของพราหมณ์). ยชนํ ยญฺโญ. ยชนฺติ อเนนาติ วา ยญฺโญ. ยชฺ เทวปูชายํ, โญ, ชสฺส โญ.
ยาค : (ปุ.) การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การบวงสรวง. วิ. ยชนํ ยาโค. ณ ปัจ.
วนฺทก : ค. ผู้ไหว้
วนฺทน : นป. ,- นา อิต. การไหว้
วนฺทนีย : กิต. ควรไหว้
วนฺทาเปติ : ก. ให้ไหว้
หพฺย หวฺย : (นปุ.) ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู ทาเน, โ ณฺย.
หวน : (นปุ.) การเป็นอยู่, ความเป็นอยู่. หู สตฺตายํ, ยุ. การให้, การบูชา, การเซ่นสรวง. หู หพฺยทาเน. ส. หวน.
หวฺย : นป. ของเซ่นเจ้า
หวฺยปาก : (ปุ.) ภาชนะเครื่องสังเวย, ถาดเครื่องเซ่นสังเวย. วิ. หวฺยสฺส ปาโก หวฺยปาโก, แปลว่าเครื่องเซ่นสังเวยก็ได้.
หุต : (นปุ.) เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, เครื่องบูชา. หุ หพฺยปฺปทาเน, โต. เชื้ออันบุคคลให้. หุ ทาเน.
หุติ หุตฺติ : (อิต.) การให้, การบูชา, การเซ่น. หุ ทานปูชนหพฺยปฺปทาเนสุ. ติ ศัพท์หลังแปลง ติ เป็น ตฺติ.
โหม : (ปุ.) ข้าวเทวดาอันบุคคลบวงสรวง วิ. หุยฺยเตติ โหโม. หุ หพฺยปฺปทาเน, โม, อุสฺโส. เครื่องบูชา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การสังเวย. วิ.หวนํ โหโม. ส. โหม.
อจฺจน : (นปุ.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
อจฺจนา : (อิต.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
อญฺชลิกมฺม : นป. อัญชลีกรรม, การประนมมือ, การไหว้
อญฺชลิกรณีย : ค. อันควรแก่การกราบไหว้
อญฺชลิ, อญฺชลี : อิต. การไหว้, การประนมมือ
อญฺชลิอญฺชลีอญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่าประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก).วิ. อญฺเชติภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี.สนามหลวงแผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็นอิต.ส.อญฺชลิ.
อญฺชลิ อญฺชลี อญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่า ประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก). วิ. อญฺเชติ ภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี. สนามหลวง แผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็น อิต. ส. อญฺชลิ.
อภิวนฺทติ : กิต. ไหว้, เคารพ, อภิวันท์
อภิวนฺทิย : กิต. ไหว้แล้ว, นอบน้อมแล้ว