เตน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุนั้น, เพราะเหตุนั้น. การณตฺเถ นิปาโต.
กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
ปริฆาส : (ปุ.) เดน ( ของเหลือที่ไม่ต้องการแล้ว ) , อาหารเป็นเดน, อาหารเดน. ปริปุพฺโพ, ฆสฺ อทเน, โณ.
ภุตฺตเสสก : (ปุ.) อาหารเป็นเดน. วิ. ภุตฺตโตเสโส ภุตฺตเสโส. โส เอว ภุตฺตเสสโก. ก สกัด.
วิฆาส : ป. ผู้กินเดน; อาหารเป็นเดน
วิฆาสาท : ป. คนกินเดน
อติริจฺจติ : ก. เหลืออยู่, คงอยู่, เป็นเดน (อาหาร)
อนติริตฺต : (วิ.) น้อย, ขาดแคลน, มิใช่เดน, ไม่เป็นเดน.
อนุจฺจิฏฺฐ, อนุจฺฉิฏฺฐ : ค. ยังไม่ได้แตะต้อง, ไม่เป็นเดน
อวกฺการ : (วิ.) อันกระทำลง, อันเป็นเดน.
อุจฺฉิฏฺฐ : (วิ.) เป็นเดน. อุปุพฺโพ, ฉิทิ ฉิชฺชเน, โต. ส. อุจฺฉิษฺฏ.
ปฏิสเตน : อ. โดยจำนวนร้อย, คราวละร้อย, (ได้ค่าตัวคืน) ละร้อย (กษาปณ์)
อภูเตน : ก. วิ. อย่างไม่จริง
เอกนฺเตน : ก. วิ. ดู เอกนฺตํ
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
ตทงฺคปหาน : (นปุ.) การละด้วยองค์นั้น ๆ วิ. เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละกิเลสด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมี ปฐมฌานเป็นต้น วิ. ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละ กิเลสด้วยสามารถแห่งองค์นั้น ๆ ของฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น. วิ. ปฐมฌานาทิสฺส ตสฺส ตสฺส องฺคสฺส วเสน กิเลสสฺส ปหานํ. การละชั่วคราว.
อินฺทฺริยคฺคยฺห : (วิ.) ประจักษ์, ปรากฏ. วิ. อินฺทฺริยํ จกฺ ขาทิกํ เตน คยฺหํ อินฺทฺริยคฺคยฺหํ.
กทลี : (อิต.) ธง วิ. เกน วาเตน ทลียเตติ กทลี. กปุพฺโพ, ทลฺ วิทารเณ, อ, อิตฺถิยํ อี. ส. กทลี.
กปฏ : (ปุ.) ความคด, ความโกง, ความทรยศ, กบฏ ขบถ คือ การประทุษร้ายต่อราชอา- ณาจักร. วิ. กุจฺฉิเตน อากาเรน ปฏตีติ กปโฏ. ปฏฺ คติยํ, อ. แปลง กุ เป็น ก หรือแปลง กุ เป็น กา แล้วรัสสะตามนัย อภิฯ ส. กปฏ.
กลาร กฬาร : (ปุ.) ดำเหลือง, สีดำเหลือง, ดำแดง, สีดำแดง, สีน้ำตาลอ่อน, สีคล้ำ. วิ. เอเตน คุณํ กลียตีติ กลาโร กฬาโร วา. กลฺ สํขฺยาเณ, อาโร.
กลิงฺคร กลิงฺคล กลิงฺคฬ : (ปุ.) ข้าวลีบ, แกลบ. วิ. เกน วาเตน อิงฺคติ สุทฺธสาลิโต อปคจฺฉตีติ กาลิงฺคโร. กปุพฺโพ, อิงฺคฺ คมเน, อโร, ลฺอาคโม.
กาฬกณฺฏก กาฬกณฺฐ ก : (ปุ.) นกกาน้ำ, นกอีลุ้ม. วิ. กาโฬ กณฺฏโก ยสฺส โส กา ฬกณฺฏโก. กาเล วสฺสมุตุมฺหิ กณฺโฐ กณฺฐทฺธนิ ยสฺส โส กาฬกณฺฏโก. กาฬกณฺฐโก วา. สมาสนฺเตน กปจฺจโย, ลสฺส โฬ.
กาฬสุตฺต : (ปุ.) กาฬสุตตุ ชื่อนรกใหญ่ขุมที่ ๒ ใน ๘ ขุม วิ. ยตฺถ นิรเย เนรยิกานํ สรีรานิ วฑฺฒกีนํ กาฬสุตฺเตน สญฺญ าณํ กตฺวา วาสินา ตจฺฉนฺติ โส กาฬสุตฺโต.
กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
กุมุทิกา : (อิต.) แตงหนู, รกฟ้า (ไม้ยืนต้นขนาด ใหญ่). วิ. กุจฺฉิเตน โมทตีติ กุมุทิกา.
เขตฺตาชีว เขตฺตาชีวี : (ปุ.) ชาวนา (ผู้มีอาชีพ ทำไร่ทำนา), คนผู้เลี้ยงชีวิตด้วยที่ดิน. วิ. ตฺเตน ชีวตีติเขตฺตาชีโว. เขตฺตสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ลง อี ปัจ.
คยฺห : (วิ.) อัน...ย่อมติเตียน, อัน...พึงติเตียน, พึงติเตียน. ครหฺ นินฺทายํ, ณฺย, ธาตฺวนฺเตน สห ยฺหาเทโส (แปลง ย พร้อมกับที่สุด ธาตุเป็น ยฺห).
คุฬผล : (ปุ.) มะซาง, ชะเอมเครือ. วิ. คุโฬ วิย สาเตน ผล เมตสฺสาติ คุฬผโล.
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
ธมนี : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, เส้นประสาท. วิ. ธมนฺติเอเตน วีณาทโยติธมนี. ธมฺ สทฺเท. ยุ. อนิ วา, อิตฺถิยํ อี.
นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
ปตฺตยาน : (นปุ.) สัตว์ผู้ไปด้วยปีก, นก. วิ. ปตฺเตน ยาตีติ ปตฺตยาโน. ยา คติยํ, ยุ.ปตฺตํ ยานํ เอตสฺสาติ ปตฺตยาโน (มีปีกเป็นยาน). ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
ผล : (นปุ.) เครื่องหมายบุรุษ, เครื่องหมายสตรี, นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, อวัยวะสืบพันธุ์ (ของบุรุษ-สตรี). วิ. ผลติ เอเตน ปุตฺตนฺติ ผลํ. ผล. นิปฺผตฺติยํ, อ.
มตฺติกา : (อิต.) ดิน, ดินเหนียว. วิ. ปเทสกตฺตา มตฺเตน ปมาเณน ยุตฺตา มตฺติกา.
มาคสิร : (ปุ.) เดือน ๑, เดือนอ้าย. วิ. มคสิเรน ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย นกฺขตฺเตน ยุตฺโตมาโส มาคสิโร, ธันวาคม, เดือนธันวาคม.
สปฺป : (ปุ.) สัตว์เสือกคลาน, งู. วิ. ภูมิผุฎฺเฐน คตฺเตน สคติ สปฺปนํ ยสฺส โส สปฺโป. สปฺปตีติ วา สปฺโป. สํสปฺปนฺโต คจฺฉตีติ อตฺโถ. สปฺปฺ คติยํ, อ.
สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
สาวณ สาวน สาวณมาส สาวนมาส : (ปุ.) เดือนเก้า, สิงหาคม, เดือนสิงหาคม. วิ. สวเณน นกฺขตฺเตน ยุตโต มาโส สาวโณ.
สิทฺธตฺถ : (ปุ.) สิทธัตถะ (ผู้มีความต้องการอะไรก็สำเร็จ) เป็นพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ และใช้เป็นพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วด้วย. วิ. สพฺพโส สิทฺธา อตฺถา เอเตน เหตุภเตนาติ สิทฺธตฺโถ.
โสภญฺชน : (ปุ.) มะรุม วิ. โสภํ ชเนตีติ โภญฺชโน. โสภปุพฺโพ. ชนฺ ปาตุภเว, อ. โสภติ อญฺชนํ เอเตน เหตุภูเตนาติ วา โสภญฺชโน.
อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
อาชิ : (อิต.) สงคราม. วิ.อชติ เอเตนนาสนฺติอาชิ.อชฺคมเน, ณิ.ส.อาชิ.
อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
อิตถี : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (ผู้ ในที่นี้เป็นคำ นาม). วิ. อิจฺฉตีติ อิตฺถี (ผู้ปรารถนาชาย). อิจฺฉียตีติ อิตฺถี (ชายอยากได้). นรํ อิจฺฉาเปตีติ อิตฺถี (ผู้ให้ชายปรารถนา). อสุ อิจฺฉายํ, อีสาตฺถีติ สุตฺเตน ตฺถีปจฺจโย, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. อถวา, อิสฺ ปฏฺฐเน, ถี, สสฺส โต. ส. สตฺรี.
อุปยาน : (นปุ.) บรรณาการ, เครื่องบรรณาการ, ของที่ส่งไปให้ วิ. อุปยนฺติ เอเตน อิสฺสรสฺส วา ปิยมาปสฺส สนฺติกํ คจฺตีติ อุปยานํ. อุปปุพฺโพ, ยา คติยํ. ยุ.
เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
เอธ : (ปุ.) เชื้อไฟ, ฟืน. วิ. เอธติ เอเตน ปาว โกติ เอโธ. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, อ. ส. เอธ.