ปฏิปถ : อ. (เดิน) สวนทาง
อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
กกฺกฎกมคฺค : ป. ทางปูเดิน, รอยปู
กนฺตารปฏิปนฺน : ค. ผู้เดินทางกันดาร
กนฺตารมคฺค : ป. ทางกันดาร, ทางเดินยาก
โกฏฏิม : ป., นป. ทางเดินที่ปูด้วยหินลูกรัง
ขญฺชโขฏ : ป. การเดินเขยก
ขญฺชติ : ก. เขยก, เดินกระโผลกกระเผลก
ขุลฺลม : ป. ถนน, ทางเดินเท้า
คจฺฉติ : ก. ไป, เดินไป, เคลื่อนไป
คต : (นปุ.) การเดิน, การไป, ความไป, ความเป็นไป. คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป ต ปัจ. ลง ในภาวะ.
คติ : (อิต.) การเดินทางไปรบ, การยกทัพออก ไปรบ. คมฺ คติยํ, ติ, มฺโลโป. ส. คติ.
คติก, คตี : ค. ผู้ไป, ผู้เดิน, ผู้อยู่
คม : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, การเดินทางไป, การเดินทางไปรบ, การยกทัพไปรบ, การเดินทัพไปรบ. วิ. คมนํ คโม. คมฺ ปัจ. ส. คมน.
คมนนฺตราย : ป. อันตรายในการไปหรือการเดินทาง
คมิกปริพฺพยวตฺถุ : (นปุ.) เครื่องเสบียงของคน เดินทาง, เครื่องเสบียงเดินทาง.
คมิกภตฺต : (นปุ.) ภัตเพื่อบุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อ ประโยชน์แก่บุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อบุคคล ผู้เดินทาง, ภัตเพื่อประโยชน์แก่บุคคลผู้จร มา.
คมิกวตฺต : นป. วัตรของผู้จะเดินทาง, การเตรียมเพื่อจะเดินทาง
จงฺกมติ : ก. จงกรม, เดินเวียนรอบไปมา
จงฺกมน : (นปุ.) การเดินไปและ การเดินมา, การเดินไปมา, การก้าวไป และการก้าวมา, การก้าวไปก้าวมา. วิ. กโม จ อากโม จ จงฺกโม. กโม จ อากมนญฺจ จงฺกมนํ. กม+อากม,กม+อากมน. แปลง ก เป็น จ แปลง ม เป็น นิคคหิต ลบ อา แปลง นิคคหิต เป็น งฺ.
จงฺกมิก : ค. ผู้เดินจงกรมเป็นปกติ, ผู้ถือการจงกรมเป็นวัตร
จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
จตุกฺกุณฺฑิก : ค. ผู้เดินด้วยอวัยวะสี่ (มือทั้งสองและเข่าทั้งสอง), ผู้คลาน
จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
จราเปติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เดินไป, ให้เคลื่อนไป; ให้เดินเป็นวงกลม
จารก : (ปุ.) คนเดินทาง, คนเดินป่า.
จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
จาริกา : อิต. การเที่ยว, การท่องเที่ยว, การเดินทาง
ชงฺฆเปสนิก : นป. การเดินส่งข่าว; การไปรษณีย์, ผู้เดินส่งข่าว, บุรุษไปรษณีย์
ชงฺฆเปสนีย : (นปุ.) การเดินสาส์น.
ชงฺฆวิหาร : ป. การเดิน
ชมฺภติ : ก. หาว, บิดกาย, เอี้ยวกาย; ลุกขึ้น, เดินไป
ชวน : (วิ.) เดินเร็ว, แล่นไป, เป็นที่แล่นไป, ฯลฯ.
ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
ตุมฺพ : (ปุ.) ตุมพะ ชื่อมาตราตวง ชื่อของ เครื่องตวง ( อาฬหก), ทะนาน, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, จักจั่น ( เต้าน้ำ หรือภาชนะดิน รูปคล้ายน้ำเต้า ใช้ใส่น้ำเดินทาง). ตุมฺพฺ กมฺปเน, อ.
ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
ทีฆนฺตร : นป. ช่องยาว, ทางเดินยาว, ระเบียง, เฉลียง
ทุคฺคม : (ปุ.) ทางเดินยาก, ทางกันดาร. วิ. ทุกฺเขน คจฺฉนฺตฺยเตฺรติ ทุคฺคโม. ทาง อัน...ไปได้โดยยาก. วิ. ทุกฺเขน คจฺฉิยเตติ ทุคฺคโม. ทุกฺขปุพฺโพ, คมฺ คมเน, อ.
ทุคคสญฺจาร : (ปุ.) การเดินทงไปในที่อัน...ได้โดยยาก วิ. ทุคคสฺส สญฺจาโร.ทุคคสญฺจาโร, หักฉัฎฐีเป็นสัตตมี. ส. ทุรฺคสํจาร ทุรฺคสญฺจาร.
ทูเตยฺยปหิณคมน : นป. การส่งข่าวและเดินข่าว, การยอมตัวรับใช้ในการสื่อข่าว
นครวิถี : อิต. นครวิถี, ถนนในเมือง, ทางเดินในเมือง
นาวิกวิชฺชา : (อิต.) วิชาเดินเรือ, นาวิกวิทยา. ส. นาวิกวิทฺยา.
นาวิกสตฺถ : (นปุ.) ตำราเดินเรือ, นาวิกศาสตร์. ส. นาวิกศาสฺตฺร.
นาวิกสาสน : (นปุ.) ข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ, กฎหมายเกี่ยวกับการเดินเรือ ในน่านน้ำทั่วไป, นาวิกศาสน์. ส. นาวิกศาสน.
นิคฺคจฺฉติ : ก. ออกไป, จากไป, เดินตามไป, ตรงไปยัง, เข้าถึง
ปจฺฉาสมณ : ป. สมณะผู้ตามหลัง, พระผู้น้อยเดินตามหลังพระผู้ใหญ่
ปตฺตการิก : ป. กองทหารราบ, กองทหารเดินเท้า
ปตฺตานึก : (ปุ.) คนสี่คนมีศัตราพร้อม ชื่อ ปัตตานีกะ, พลเดินเท้า, ปัตตานีกะ, ปัตตานึก. เป็น ปตฺตาณีก บ้าง.
ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
ปตฺติกาย : ป. กองทหารเดินเท้า, กองทหารราบ