Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เดือนเต็ม, เดือน, เต็ม , then ดอน, เดือน, เดือนเต็ม, ตม, เต็ม, เตือน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เดือนเต็ม, 325 found, display 1-50
  1. จาตุมฺมาสินี : อิต. ดิถีเป็นที่เต็มแห่งเดือนทั้งสี่, วันเพ็ญแห่งเดือนที่สี่ (ของแต่ละฤดู)
  2. กตฺติก กตฺติกมาส : (ปุ.) เดือนอันประกอบ ด้วยดาวฤกษ์ชื่อกัตติกา, เดือนกัตติกา, เดือน ๑๒, เดือนพฤศจิกายน.
  3. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  4. เจตฺรมาส : (ปุ.) เดือนจิตระ, เดือนจิตรมาส, เดือน ๕, เดือนเมษายน, เมษายน.
  5. ปุณฺณ : ค. บริบูรณ์, เต็ม
  6. ปุพฺพกตฺติก : (ปุ.) ปุพพกัตติกะ ชื่อเดือนที่ ๑๑ ทางจันทรคติ, เดือน ๑๑. วิ. จึอสฺสยุชมาโส ปุพฺพกตฺติโก, ปุพฺโพ จ โสกตฺติโก เจติ ปุพฺพกตฺติโก
  7. โปฏฺฐปทมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยวันเพ็ญรวมนักษัตรโปฏฐปทา, เดือน ๑๐, กันยายน, เดือนกันยายน.
  8. ผคฺคุนมาส : (ปุ.) เดือนอันมีพระจันทร์เสวยนักษัตรผคฺคุนี, เดือนประกอบ ด้วยผัคคุนฤกษ์, เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม. เป็น ผคฺคุณมาส บ้าง.
  9. มาฆ : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยดาวฤกษ์ชื่อมฆา, เดือนมาฆะ, เดือน ๓, ภุมภาพันธ์, เดือนกุมภาพันธ์. วิ. มฆาย ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส มาโฆ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  10. สลก สสงฺก : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน, ดวงเดือน. วิ สโส อํโก ยสฺส โส สสํโก สสงฺโก วา.
  11. สสธร : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน, ดวงเดือน.
  12. ตม : (วิ.) มืด, ผู้มืด. ติมฺ เตมเน, อ. แปลง อิ เป็น อ. โง่เขลา. ตมฺ กํขายํ. ส. ตม.
  13. จิตฺต : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยฤกษ์จิตตา, เดือน จิตตะ, เดือนห้า. วิ. จิตฺตาย ยุตฺโต มาโส จิตฺโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  14. จิตฺตมาส จิตฺรมาส : (ปุ.) เดือนจิตตมาส, เดือน เดือนจิตรมาส, เดือนห้า, เดือนเมษายน, เมษายน.
  15. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  16. กุโสพฺภ : (ปุ.) บ่อ, หนอง. กุส(น้ำ)+อุพฺภ(เต็ม).
  17. ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
  18. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  19. จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
  20. ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
  21. โทสากร : (ปุ.) ดวงจันทร์, พระจันทร์, เดือน.
  22. นกฺขตฺตราช : (ปุ.) นักขัดตราช ชื่อของ พระจันทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๔ ชื่อ, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน.
  23. นารีปุปฺผ : (นปุ.) ดอกไม่ของหญิง, ระดูของ หญิง, ประจำเดือน (โรคประจำเดือนของ หญิง เลือดที่ออกจากมดลูกเป็นประจำ เดือน).
  24. ปริปนฺถ : (ปุ.) อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ, อันตรายในทางเปลี่ยว, ทางเปลี่ยว, หนทางเปลี่ยว, อันตราย อุ. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ปริปุพฺโพ, ปถิ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  25. ปริปูร : ค. เต็ม
  26. ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
  27. โปฏฺฐปท โปฏฺฐปาท : (ปุ.) เดือน ๑๐, กันยายน. วิ. โปฏฺฐปทาย ปริปุณฺณนฺ-ทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส โปฏฺฐปโท โปฏฺฐปาโท วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  28. ผคฺคุน : (ปุ.) เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม, อภิฯ วิ. ผคฺคุนิยา ปริปุณฺเณนฺทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโสผคฺคุโน. บท ปริปุณฺเณฯ ตัดบทเป็น ปริปุณฺณ+อินทฺ+ยุตฺต. รูปฯ ๓๖๒ วิ. ผคฺคุนิยา ยุตฺโต มาโส ผคฺคโน. เป็น ผคฺคุณ เพราะแปลง น เป็น ณ บ้าง.
  29. พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  30. พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  31. ภทฺทปท ภทฺทปทมาส : (ปุ.) เดือน ๑๐, กันยายน, เดือนกันยายน.
  32. ภร : (วิ.) เลี้ยง, พอกพูน, มากมาย, เต็ม. ภรโปสเน, อ.
  33. มาคสิร : (ปุ.) เดือน ๑, เดือนอ้าย. วิ. มคสิเรน ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย นกฺขตฺเตน ยุตฺโตมาโส มาคสิโร, ธันวาคม, เดือนธันวาคม.
  34. มาคสิรมาส : (ปุ.) เดือน ๑, เดือนอ้าย, ธันวาคม, เดือนธันวาคม.
  35. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  36. มาฆมาส : (ปุ.) เดือน ๓, ฯลฯ, เดือนกุมภาพันธ์.
  37. มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
  38. มิคสิร มิคสิรมาส : (ปุ.) เดือน ๑, เดือนอ้าย, เดือนธันวาคม, ธันวาคม.
  39. รชนีกร รชฺชนีกร : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน.
  40. อกาลจีวร : (นปุ.) ผ้าอันเกิดขี้นในสมัยมิใช่กาล, ผ้าที่ทายกทายิกาถวายนอกเขตฤดูกาล (ที่ทรงอนุญาต) คือผ้าที่เกิดขึ้นนอกเขตกาลจีวร, อกาลจีวร.อกาลจีวรมีกำหนดดังนี้ถ้าภิกษุไม่ได้กรานกฐินมีกำหนด ๑๑ เดือน ตั้งแต่ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  41. อธิกมาส : (ปุ.) เดือนเกิน, เดือนที่เพิ่มเข้ามา, อธิกมาสคือเดือนที่เพิ่มเข้ามา ปีนั้นมี ๑๓เดือน คือมีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ต้น หรือ เดือน ๘ แรก กับเดือน ๘ หลัง.
  42. อนูน : (วิ.) ไม่ย่อหย่อน, ไม่พร่อง, เต็ม.
  43. อาสุชฺชมาส : (ปุ.) เดือน ๑๑ ?
  44. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  45. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  46. ตม (โม) นทฺธ, ตมนิวุต : ค. อันความมืดหุ้มห่อไว้, ถูกความมืดปกคลุมไว้, อันตกอยู่ในความมืด
  47. กตฺติก, - มาส : ป. ชื่อเดือนที่มีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์กัตติการาวเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน
  48. กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
  49. กลานิธิ : (ปุ.) ดวงเดือน, ดวงจันทร์, ส. กลานิธิ.
  50. กสตาล กสตาฬ : (นปุ.) กังสดาล กังสดาฬ ชื่อโลหะหรือสัมฤทธิ์ ที่ทำไว้สำหรับตี มี ฆ้องเป็นต้น, ระฆังวงเดือน. กํสปุพฺโพ, ตฬฺ ตาฬเน, โณ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-325

(0.0631 sec)