Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เด็กน้อย, เด็ก, น้อย , then ดก, เด็ก, เด็กน้อย, นอย, น้อย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เด็กน้อย, 290 found, display 1-50
  1. กุมารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, กุมาร. ก สกัด. เด็กน้อย, กุมารน้อย. ก ที่ลงในอรรถว่า น้อย. ที่เป็นพหุ: แปลว่า เด็กๆ.
  2. พาลก : (ปุ.) เด็กน้อย, เด็กเล็ก.
  3. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  4. กญฺญา : อิต. นางสาวน้อย, เด็กหญิง
  5. กฺมาริกา กุมารี : (อิต.) เด็กหญิง, สาวน้อย, กุมารี, ผู้หญิง, นาง.
  6. กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
  7. กุฏฐ : ๑. นป. โรคเรื้อน; ต้นโกฐ; ๒. ค. เล็ก, น้อย, รอง
  8. ขุทฺท : (วิ.) เล็ก, น้อย, เล็กน้อย, ต่ำช้า, ต่ำ- ทราม, ยากไร้, กำพร้า, ตระหนี่.
  9. ขุลฺล ขุลฺลก : (วิ.) เล็ก, น้อย, เลว, ต่ำ. ขุรฺ เฉทเน, โล, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  10. คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
  11. จูฬนิก : ค. มีขนาดเล็ก, เล็ก, น้อย
  12. ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  13. โถก, โถกก : ค., นป. นิดหน่อย, น้อย, เล็กน้อย, ไม่สำคัญ; สิ่งเล็กๆ น้อย
  14. ทหร : (วิ.) เยาว์, เล็ก, น้อย, หนุ่ม. ส. ทหาร.
  15. พินฺทุ : (วิ.) นิดหน่อย, น้อย, เล็กน้อย, กลมกล่อม.
  16. มิต : ๑. กิต. นับแล้ว; ๒. ค. พอประมาณ, น้อย
  17. ลหุก : ค. เบา, น้อย
  18. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  19. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  20. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  21. อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
  22. โอร โอรก : (วิ.) ต่ำ, เบื้องต่ำ, ต่ำต้อย, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ลามก, เล็ก, น้อย, เล็ก น้อย. ส. อวร.
  23. ถนป : (ปุ.) เด็กผู้ดื่มน้ำอันเกิดจากนม, เด็ก ผู้ดื่มน้ำนม, เด็กยังดื่มนม, เด็กยังเล็ก, เด็กทารก, ทารก. วิ. ถนํ ปิวตีติ ถนโป. ถนปุพโพ, ปา ปาเน, อ.
  24. กณิฏฺฐ กนิฏฺฐ : (วิ.) น้อยที่สุด, น้อยเกิน, หนุ่มเกิน, น้อย. อปฺป หรือ ยุว ศัพท์ อิฏฺฐปัจ. เสฏฐตัท. รูปฯ ๓๘๐ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. โมคฯณาทิกัณฑ์ ๑๓๗ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ กน. ส. กนิษฐ.
  25. กณิย กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, หนุ่ม เกิน, น้อย. อิย ปัจ. เสฏฐตัท.
  26. กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, น้องกว่า, หนุ่ม เกิน, น้อย. อปฺป+อิย ปัจ. แปลง อปฺป เป็น กน.
  27. กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
  28. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  29. เลส : ป. ของเล็กๆ น้อย ๆ; ข้ออ้าง, เลศนัย, เล่ห์เหลี่ยม
  30. : (วิ.) เจริญ, ใหญ่อุ, ภวาภว ภพและภพอันเจริญ, ภพน้อยและภพใหญ่, อผล ผลใหญ่ เวสฯ ๗๒๐ แก้ว่า ผลนฺติมหนฺตํผลํ. อภิฯ อกาโร วุฑฺฒิยํ. น้อย อุ. อพลกำลังน้อย วิ.อปฺปํ พลํ อพลํ.มีกำลังน้อยวิ. อปฺปํ พลํ ยสฺส โส อพโล.
  31. อีส : อ. น้อย
  32. อีสสฺสย : (ปุ.) การนอนนิดหน่อย, การนอน น้อย. วิ. อีสํ สียเตติ อีสสฺสโย. อีสํ วา สยนํ อีสสฺสโย. อีสปุพฺโพ, สี สเย, โข.
  33. อลป : (วิ.) น้อย.อปฺปศัพท์แปลงปฺเป็นล.
  34. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  35. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  36. กฏิภาร : ป. ของหรือภาชนะที่นำไปด้วยเอว เช่นการอุ้มเด็ก
  37. กณ : (วิ.) น้อย, ละเอียด, สุขุม, ใกล้. กณฺ สทฺเท, อ. ส. กณ.
  38. กณิฏฐ : ป. น้อยที่สุด, เล็กที่สุด, ผู้เป็นน้องคนเล็ก
  39. กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
  40. กติปย : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ไม่มาก, สองสามสิ่ง, สองสามคน. ส. กติปย.
  41. กติปาห : (นปุ.) วันเล็กน้อย (สองสามวัน).
  42. กนิฏฐ : (ปุ.) น้องชายผู้น้อยที่สุด, น้องชาย สุดท้อง, น้องชาย. ส. กนิษฺฐ.
  43. กนิฏฐตฺต : นป. ความเป็นของเล็กน้อย
  44. กนิฏฺฐ ภคินี กนิฏฺฐา : (อิต.) น้องหญิงผู้น้อย ที่สุด, น้องหญิงคนสุดท้อง, น้องหญิง, น้องสาว.
  45. กนิฏฺฐ ภาตุ : (ปุ.) น้องชายผู้น้อยที่สุด, น้อง ชาย.
  46. กนิฏฺฐา : (อิต.) น้องหญิงผู้น้อยที่สุด, น้อง หญิง, น้องสาว.
  47. กนิฏฐี : อิต. น้องสาวผู้น้อย
  48. กนี : (อิต.) เด็กหญิง, กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, อี. ส. กนี.
  49. กปฺปิยทารก : ป. เด็กที่คอยรับใช้พระ
  50. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-290

(0.0776 sec)