หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
เผคฺคุก : ค. มีกระพี้, มีเปลือกนอก, อ่อน, ไม่แข็งแรง
มชฺชว : (วิ.) เป็นของอ่อน, อ่อน, อ่อนโยน.
มนฺท : (วิ.) เขลา, โง่, โง่เขลา, พาล (อ่อน), อ่อน, อ่อนแอ, เพลีย, มัว, รางๆ. มนฺทฺ ชฬตฺเต, อ.
สณฺห : ค. เกลี้ยงเกลา, อ่อน, นุ่ม, สุภาพ
สิฐล สิถิล : (วิ.) หย่อน, เบา, อ่อน, หลวม. สถฺ เสถิลฺเล, อิโล, อสฺสิ. ศัพท์ต้นแปลง ฤ เป็น ฐฺ.
สินิทฺธ : (วิ.) สิเนหะ, รัก, รักใคร่, มีใจรักใคร่, ละเอียด, เรียบ, กลมเกลียว, เกลี้ยงเกลา, งดงาม, อ่อน, อ่อนโยน, อิ่มใจ, ชอบใจ, อาลัย, สินิท, สนิท, สนิธ. สินิหฺ ปิติยํ, โธ, หสฺส โท.
สิลฏฺฐ : ค. เกลี้ยง, เรียบ, อ่อน
สุกุมาร : (วิ.) ผู้เจริญด้วยคุณ, งาม, อ่อน, ละเอียด. วิ. โสภนํ กุมารํ กนฺติ ยสฺส ตํ สุกุมารํ.
อพล : (วิ.) ไม่มีกำลัง, ไม่มีแรง, อ่อน, เพลีย.ส.อพล.
ถนป : (ปุ.) เด็กผู้ดื่มน้ำอันเกิดจากนม, เด็ก ผู้ดื่มน้ำนม, เด็กยังดื่มนม, เด็กยังเล็ก, เด็กทารก, ทารก. วิ. ถนํ ปิวตีติ ถนโป. ถนปุพโพ, ปา ปาเน, อ.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
มุทุ, มุทุก : ค. อ่อน
อปฺป อปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิด หน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน. วิ. อเปสิ อิสกมตฺต มคมาสีติ อปฺปํ. อปฺ ปาปุณเน, โป. อลฺ ภูสเน วา, โป. ศัพทฺหลัง ก สกัด. ส. อลฺปก.
อปฺปอปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน.วิ.อเปสิอิสกมตฺตมคมาสีติอปฺปํ.อปฺปาปุณเน, โป.อลฺภูสเนวา, โป. ศัพทฺหลังกสกัด.ส.อลฺปก.
โกมล : (วิ.) อ่อน, ละเอียด, งาม, น่าฟัง, ไพเราะ, หวาน, เรียบ, สุภาพ. กุ สทฺเท, อโล, มฺ อาคโม. ส. โกมล.
ตรุณ : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, ใหม่.
พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
มุทุ มุทุก : (วิ.) อ่อน,อ่อนโยน, อ่อนหวาน, ละมุนละม่อม, ละเอียด. แปลว่า ช้า เกียจคร้าน ทื่อ ไม่เฉียบแหลม ก็มี.
ยุว ยุวาน : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, สาว, เยาว์ (อ่อนวัย รุ่นหนุ่ม รุ่นสาว). ยุ มิสฺสเน, อ, อุวาเทโส.
กญฺญา : อิต. นางสาวน้อย, เด็กหญิง
กฏิภาร : ป. ของหรือภาชนะที่นำไปด้วยเอว เช่นการอุ้มเด็ก
กนี : (อิต.) เด็กหญิง, กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, อี. ส. กนี.
กปฺปาสสุขุม : ค. มีเนื้อฝ้ายที่อ่อนนุ่มนิ่ม
กปฺปิยทารก : ป. เด็กที่คอยรับใช้พระ
กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
กปิล : (ปุ.) กปิละ ชื่อคน ชื่อปลา, โคมีสีแดง,โคแดง, สีดำแดง, สีเหลือง, สีน้ำตาลอ่อน, วิ. อกพิ นีลา ทิวณฺณตฺตํ อคมีติ กปิโล กพิ วณฺเณ, อิโล, พสฺส โป. ส.กปิล.
กฺมาริกา กุมารี : (อิต.) เด็กหญิง, สาวน้อย, กุมารี, ผู้หญิง, นาง.
กรภ : (ปุ.) กรภะ ชื่อมือด้านข้างข้อมือและ นิ้วก้อยที่เด็กทำดุจศัตราประหารกันและ กัน, ข้างมือ, สันมือ, อูฐ. กรฺ หึสายํ กรเณ วา, อโภ. ส. กรภ.
กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
กลภ : ป. ช้างอ่อน, ช้างหนุ่ม
กลฺยาณ : (วิ.) ดี. งาม, พะงา (งาม, สวย), เป็น ที่ชอบใจ, ชอบ, ไพเราะ, อ่อนหวาน. กลฺ สํขยาเณ, ยาโณ. ส. กลฺยาณ.
กลาร : ค. เป็นสีน้ำตาลอ่อน
กลาร กฬาร : (ปุ.) ดำเหลือง, สีดำเหลือง, ดำแดง, สีดำแดง, สีน้ำตาลอ่อน, สีคล้ำ. วิ. เอเตน คุณํ กลียตีติ กลาโร กฬาโร วา. กลฺ สํขฺยาเณ, อาโร.
กสลย : นป. ใบไม้อ่อน
กากปกฺข : (ปุ.) ผมที่ขมวดไว้เป็นหย่อม ๆ (ผมเด็กขมวดแยกออกเป็น ๓ หย่อม หรือ ๕ หย่อม), ผมแหยม (ปอยผมที่เอาไว้เป็น กระจุกบนหัวนอกจากจุก), ไรผม, ปีกของ กา, ปีกกา. กากานํ ปกฺขสณฺฐ านตฺตา กากปกฺโข.
กากุฏเฏปก : ค. ผู้แพ้วกา, ผู้ไล่กา, เด็กผู้รู้เดียงสาพอจะไล่กาได้
กายมุทุตา : อิต. ความอ่อนของร่างกาย, ความอ่อนแห่งนามธรรมคือเจตสิก
กิญฺจิรตฺต : (ปุ.) แดงน้อย, แดงอ่อน, แดงเรื่อ (สี...).
กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
กุนฺถ : (ปุ.) กุนถะ ชื่อมดชนิดหนึ่ง, มด, มดดำ. เด็กชาย, กุถิ หึสายํ, อ.
กุมารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, กุมาร. ก สกัด. เด็กน้อย, กุมารน้อย. ก ที่ลงในอรรถว่า น้อย. ที่เป็นพหุ: แปลว่า เด็กๆ.
กุมารกวาท : ป. วาทะเยี่ยงเด็ก, การพูดอย่างเด็ก
กุมารกีฬา : อิต. การเล่นของเด็ก, การรื่นเริงของเด็ก, กีฬาเด็ก
กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
กุมารภจฺจา : อิต. นางผดุงครรภ์, คนดูแลเด็ก
กุมารลกฺขณ : นป. การทำนายลักษณะเด็ก
กุมาริกา, - รี : อิต. กุมารี, เด็กหญิง, เด็กหญิงวัยรุ่น, หญิงพรหมจารี