Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เตะ , then เต, เตะ, เตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เตะ, 483 found, display 1-50
  1. อุทฺธน : (นปุ.) ก้อนเส้า, เตา, เตาไฟ. วิ. อุปริ ธิยฺยเต ถาลฺยาทิก มสฺมินติ อุทฺธนํ. อุปริปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ.
  2. เตรส เตฬส : (ไตรลิงค์) สิบสาม วิ. ตโย จ ทส จาติ เตรส. ตีหิ วา อธิกาติ เตรส. แปลง ติ เป็น เต ศัพท์หลังแปลง ร เป็น ฬ. รูปฯ ๓๙๖.
  3. เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  4. เตชี : ค. ดู เตชวนฺตุ
  5. เตโชกสิณ : (นปุ.) การเพ่งไฟ, เตโชกสิณ.
  6. เตปิฏก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งหมวดแห่งปิฏกสาม วิ. ติปิฏกราสึ ธาราตีติ เตปิฏโก. ผู้ทรงไว้ ซึ่งปิฏกสาม วิ. ติปิฏกํ ธาเรตีติ เตปิฏโก. ผู้ทรงไว้ซึ่งพระพุทธพจน์คือหมวดแห่ง ปิฏกสาม วิ. เตปิฏกํ เอว พุทฺธวจนํ ธาเรตีติ เตปิฏโก. เตปิฏกพุทฺธวจนํ ธาเรตีติ วา เตปิฏโก. ผู้ทรงไว้ซึ่งหมวดสามแห่งปิฏก วิ. ปิฏกสฺส ติกํ ธาเรตีติ เตปิฏโก. เตปิฏกํ ธาเรตีติ วา เตปิฏโก.
  7. เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
  8. เตมาส : (นปุ.) หมวดสามแห่งเดือน, หมวดแห่งเดือนสาม, ไตรมาส ( สามเดือน ), ดู วิ. ที่ศัพท์ เตปิฏก(นปุ.) เทียบ.
  9. เตมิตุกาม : (วิ.) มีความปรารถนาเพื่ออันเปียก, มีความปรารถนาเพื่อจะเปียก, มีความต้องการเพื่อจะเปียก. เตมิตุ+กาม ลบ นิคคหิต.
  10. เตมิย : (ปุ.) พระเตมิยะ พระเตมีย์ พระนาม ของพระโพธิสัตว์ คือ อดีตชาติของพระ สมณโคดม เป็นชาติที่ ๑ ในทศชาติ.
  11. เตรสม : (วิ.) ที่สิบสาม. เตรส+ม ปัจ.
  12. เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  13. เตกาลิก : ค. สามกาล, ประกอบด้วยสามกาล, มีสามกาล
  14. เตกิจฺฉ : ค. อันแก้ไขได้, ซึ่งพอจะรักษาได้, ผู้ควรเยียวยา
  15. เตจีวร : นป. ไตรจีวร; สังฆาฏิ (ผ้าพาด), อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม), อันตรวาสก (ผ้านุ่ง)
  16. เตชน : (ปุ.) ไม้แขม. ติชฺ นิสาเน, ยุ.
  17. เตชวนฺตุ : ค. ผู้มีฤทธิ์, ผู้มีเดช, ก่อให้เกิดความร้อน, มีความร้อน
  18. เตชิต : ค. ลับ, เสี้ยม, เหลา
  19. เตเชติ : ก. ทำให้ร้อน, เผา, ทำให้คม
  20. เตธาตุก : นป. (โลก) อันประกอบด้วยธาตุสามอย่าง
  21. เตนวุติ : ค. (อิต.) เก้าสิบสาม
  22. เตปิฏกปริยตฺติปฺปเภท : (วิ.) ผู้แตกฉานใน ปริยัติ คือ หมวดแห่งปิฏกสาม.
  23. เตปิฏกพุทธวจนสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้า คือหมวดแห่งปีฏกสาม.
  24. เตภาติก : ค. มีพี่น้องชายสามคน
  25. เตภูมิก : ค. อันมีภูมิสาม, อันเป็นไปในภูมิสาม, มีสามขั้น
  26. เตภูมิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นไปในภูมิสาม.
  27. เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
  28. เตมาสจตุมาสจฺจย : (วิ.) เป็นที่ไปล่วงแห่ง หมวดแห่งเดือนสามและหมวดแห่งเดือนสี่, สิ้นไปสามสี่เดือน.
  29. เตมิตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การเปียก, การทำให้เปียก, การชุ่มชื้น; เพื่ออันเปียก, เพื่ออันชุ่ม
  30. เตมิยติ : ก. อันเขาทำให้เปียก, อันเขาทำให้ชื้น
  31. เตเมติ : ก. ทำให้เปียก, ทำให้ชุ่ม, ทำให้ชื้น
  32. เตรส : ค. สามสิบ
  33. เตโรวสฺสิก : ค. มีอายุสามหรือสี่ปี
  34. เตลนาฬิ : (อิต.) ทะนานแห่งน้ำมัน, น้ำมันมี ทะนานเป็นปริมาณ, น้ำมันมีทะนานหนึ่ง เป็นประมาณ.
  35. เตลมกฺขน : นป. การทาด้วยน้ำมัน, การไล้ด้วยน้ำมัน
  36. เตลมิญฺชก : ป. ขนมทอดน้ำมัน
  37. เตลวณิชฺชา : อิต. การค้าขายน้ำมัน
  38. เตลิย : ค. อันเป็นมัน, มีมันมาก
  39. เตวาจิก : (วิ.) กล่าวสามครั้ง.
  40. เตวิชฺช : (วิ.) ผู้มีวิชาสาม.
  41. เตวีสติ : (อิต.) ยี่สิบสาม.
  42. เตอสีติ (ตฺยาสีติ) : ค. (อิต.) แปดสิบสาม
  43. ฆาเตตาย : (วิ.) ควรฆ่า วิ. ฆาเตตุ อรหตีติ ฆาเตตาโย. อาย หรือ ราย ปัจ. ลบ ตุ.
  44. จุลฺล : (ปุ.) หงอนนก?, เตา, เตาไฟ, เชิงกราน ชื่อเตาไฟทำด้วยดิน ยกตั้งได้ มีชานสำ- หรับวางฟืน. จิ จเย, อุโล, ทฺวิตฺตํ.
  45. ภทนฺเต : (อัพ. นิบาต) ดู ภนฺเต.
  46. อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
  47. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  48. อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
  49. อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
  50. อุทฺทน : (นปุ.) ก้อนเส้า, เตา, เตาไฟ. ดู อุทฺธน.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-483

(0.0709 sec)