Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เตียนโล่ง, เตียน, โล่ง , then ตยนลง, เตียน, เตียนโล่ง, ลง, โล่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เตียนโล่ง, 811 found, display 1-50
  1. นิคฺคุมฺพ : ค. ไม่มีพุ่มไม้, ปราศจากพุ่มไม้, โล่งเตียน
  2. นิพฺพน : ค. ซึ่งปราศจากป่าไม้, อันโล่งเตียน, อันปราศจากความอยากได้
  3. มฏฺฐ : (วิ.) เกลี้ยง, เลี่ยน, เตียน, ราบ, สะอาด, บริสุทธิ์, มชฺ สุทฺธิยํ, โต.แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ ชฺ.
  4. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  5. เขป : (ปุ.) การติเตียน, การนินทา, ความติเตียน. วิ. ขิปนํ พหิกรณํ เขโป. ขิปฺ เปรเณ, โณ. อภิฯ ลง ปัจ.
  6. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  7. ธิกฺกต : ค. ซึ่งสบประมาท, เกลียดชัง, ทำให้เลวลง, น่าติเตียน
  8. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  9. กลงฺก (กลก) : ป. เครื่องหมาย, รอย, แผลเป็น, สนิม, การติเตียนของโลก
  10. กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
  11. กุชฺชล : (ปุ.) คนอันธพาล (ผู้รุ่งเรืองที่บัณฑิต ติเตียน), ต้นอัญชัน (รุ่งเรืองในแผ่นดิน).
  12. ขียนก : (นปุ.) การบ่น, การว่า, การบ่นว่า, การติเตียน ขี หึสายํ, ยุ, สกตฺเถ โก.
  13. คยฺห : (วิ.) อัน...ย่อมติเตียน, อัน...พึงติเตียน, พึงติเตียน. ครหฺ นินฺทายํ, ณฺย, ธาตฺวนฺเตน สห ยฺหาเทโส (แปลง ย พร้อมกับที่สุด ธาตุเป็น ยฺห).
  14. ครห : (วิ.) เกลียด, ชัง, เกลียดชัง, ติเตียน, นินทา.
  15. ครหก : ค. ผู้ให้ร้าย, ผู้ใส่โทษ, ผู้ติเตียน
  16. ครหณ : นป. การติเตียน, การกล่าวโทษ, การใส่ร้าย
  17. ครหณ ครหน : (นปุ.) ความเกลียด, ฯลฯ, การติเตียน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  18. ครหติ : ก. ติเตียน, กล่าวโทษ, ใส่ร้าย, นินทา, ด่า, ว่าร้าย
  19. คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
  20. คารยฺหวจ : (ปุ.) คนพูดคำอันบัณฑิตพึงติเตียน, คนพูดเหลวไหล.
  21. คารยฺหวจ, คารยฺหวาที : ค. ผู้พูดคำที่น่าติเตียน
  22. จุทิต : กิต. (อันเขา) โจทแล้ว, กล่าวหาแล้ว, ติเตียนแล้ว
  23. โจทิต : กิต. (อันเขา) เร้าใจแล้ว, โจทแล้ว, กล่าวหาแล้ว, ติเตียนแล้ว
  24. โจเทติ : ก. โจท, ท้วง, กล่าวหา, ติเตียน, เตือน
  25. ฉทติ : ก. กล่าวโทษ, โพนทะนา, ติเตียน
  26. ชิคุจฺฉ : (วิ.) ติเตียน, เกลียด, น่าเกียด, ชัง, น่า ชัง. คุปฺ กุจฺฉเน, โฉ. เทวภาวะ คุ แปลง คุ เป็น ชุ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ปฺ เป็น จฺ.
  27. ชิคุจฺฉก : ค. ผู้ติเตียน, ผู้รังเกียจ, ผู้ไม่พอใจ
  28. ชิคุจฺฉน : (นปุ.) ความติเตียน,ฯลฯ
  29. ชิคุจฺฉา : (อิต.) ความติเตียน,ฯลฯ
  30. ตชฺชนิย : ค. อันเขาพึงติเตียน, ซึ่งควรติเตียนหรือลงโทษ, อันควรข่มขู่
  31. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  32. ตินฺติณ : ๑. นป. ความจะกละ, ความอยาก, ความปรารถนา, ความติเตียน; ๒. ค. ผู้จะกละ, ผู้อยากได้
  33. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  34. ทุฏฺฐุ : (อัพ. นิบาต) ติเตียน, นินทา, ชั่ว, ร้าย, น่าเกลียด. วิ ทุฏฺฐาติ ปวตฺตติ อสุนฺทรภาเวนาติ ทุฏฺฐุ. ทุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อุ. ฏฺสํโยโค.
  35. เทผ : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, คำกล่าว, การรบ, การนินทา, คำนินทา, คำติเตียน, การเบียดเบียน, การถือเอา. ทิผฺ กถนยุทฺธ- นินฺทาหึสาทาเนสุ, โณ.
  36. โทสกฺขาน : นป. การกล่าวโทษ, การติเตียน
  37. โทสาโรปณ : นป. การยกขึ้นซึ่งโทษ, การแส่หาโทษคนอื่น, การกล่าวร้าย, การติเตียน
  38. ธูต : (วิ.) หวั่นไหว, กล่าวโทษ, ติเตียน, ตัดสิน. ธู กมฺปเน, โต.
  39. นิคฺคณฺหาติ : ก. ตำหนิ, ติเตียน, ข่ม, บังคับไว้, จับไว้
  40. นิคฺคยฺห : ค. อัน...พึงตำหนิ, พึงข่ม, ซึ่งควรแก่การติเตียนหรือข่ม
  41. นิคฺคยฺหติ : ก. อัน...ตำหนิ, ติเตียน, ข่ม, ถูกตำหนิ, ถูกข่ม
  42. นิคฺคหิต : ๑. นป. นิคหิต, พยัญชนะ คือ ˚ มีเสียงออกทางจมูก; ๒. ค. อัน...ตำหนิแล้ว, ...ติเตียนแล้ว, ....ข่มแล้ว, ซึ่งถูกติเตียนแล้ว
  43. นิคฺคเหตพฺพ : ค. ซึ่งควรแก่การติเตียนหรือข่ม, อัน...พึงติเตียนหรือข่ม
  44. นิคฺคาหก : ค. ผู้ติเตียน, ผู้ข่มขู่, ผู้กดขี่
  45. นิตฺถุน : นป. การส่งเสียง, การครวญคราง, การสะอึกสะอื้น; การตำหนิติเตียน, การด่าว่า, การนินทา
  46. นินฺทติ : ก. ตำหนิ, ติเตียน, ด่าว่า, นินทา
  47. นินฺทา : (อิต.) การกล่าวติเตียน, การกล่าว โทษ, ความติเตียน, คำติเตียน. นิทิ กุจฺฉาย์, อ. ส. นินฺทา.
  48. นินฺทิต : ค. ถูกนินทา, น่าตำหนิ, ซึ่งอัน...ติเตียนแล้ว, ถูกกล่าวหา, ถูกใส่โทษ
  49. ปฏิกฺโกสติ : ก. ด่าตอบ, ติเตียน, แช่งด่า, ดูหมิ่น; คัดค้าน, ปฏิเสธ, ห้าม
  50. ปฏิกุฏฺฐ : ค. ซึ่งถูกติเตียน, ซึ่งถูกรังเกียจ, อันเขาเหยียดหยาม, น่าติเตียน
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-811

(0.0751 sec)