ปุณฺณ : ค. บริบูรณ์, เต็ม
อุตฺตานี : ค. เปิดเผย, ปรากฏ, ตื้น
ตม : (วิ.) มืด, ผู้มืด. ติมฺ เตมเน, อ. แปลง อิ เป็น อ. โง่เขลา. ตมฺ กํขายํ. ส. ตม.
กุโสพฺภ : (ปุ.) บ่อ, หนอง. กุส(น้ำ)+อุพฺภ(เต็ม).
ตพฺพิปกฺขก : (วิ.) ตื้น วิ. ตสฺส คมฺภีรสฺส วิปกฺขโก ตพฺพิปกฺขโก.
ปริปูร : ค. เต็ม
ภร : (วิ.) เลี้ยง, พอกพูน, มากมาย, เต็ม. ภรโปสเน, อ.
อนูน : (วิ.) ไม่ย่อหย่อน, ไม่พร่อง, เต็ม.
อุตฺตาน : (วิ.) หงาย, ตื้น. วิ. อุคฺคตํ ตานํ ปมาณ มสฺสาติ อุตฺตานํ. ส. อุตฺตาน.
ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
ตม (โม) นทฺธ, ตมนิวุต : ค. อันความมืดหุ้มห่อไว้, ถูกความมืดปกคลุมไว้, อันตกอยู่ในความมืด
กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
กากเปยฺย : ค. แอ่งน้ำที่เต็มเปี่ยมพอที่กาควรดื่มกินได้, เต็มจนถึงขอบพอที่กาจะดื่มกินได้โดยง่าย
กิมิน : ค. ซึ่งเต็มไปด้วยหนอน
กุจฺฉิปุร : (วิ.) ยังท้องให้เต็ม, เต็มในท้อง (พอเต็มท้อง พออิ่มท้อง).
กูปาร : (ปุ.) ทะเล (เต็มด้วยน้ำ มีน้ำเค็ม).
โกฏฺฐ : (วิ.) เต็ม, อัน...ให้เต็ม กุสฺ ปูรเณ, โต.
คุณสมฺปตฺติ : (อิต.) สมบัติคือความดี, คุณสมบัติ (ความดีเต็มที่).
คูถนรก, - นิรย : นป. คูถนรก, นรกที่เต็มไปด้วยคูถ
จตุปาริสุทฺธิสีล : (นปุ.) ศีลอันภิกษุพึงให้เต็ม ด้วยเป็นศีลยังผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มี องค์สี่, ศีลยังภิกษุผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มีองค์สี่ ( มีสี่ข้อ ).
จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
จาตุมฺมาสินี : อิต. ดิถีเป็นที่เต็มแห่งเดือนทั้งสี่, วันเพ็ญแห่งเดือนที่สี่ (ของแต่ละฤดู)
จิตนฺตรส : ค. มีระหว่างพระอังสะเต็ม, มีพระรากขวัญเต็ม, มีช่องไหปลาร้าเต็ม (มหาปุริสลักษณะ)
ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
ตณฺหาธินิเวส : ค. อันเต็มด้วยตัณหา
ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณ : (วิ.) อันเต็มแล้วด้วยวัตถุ มีงาและข้าว สารและเนยใสและน้ำอ้อยและวัตถุเป็น เครื่องปกปิด มีผ้าเป็นต้น.
ติลวาห : (ปุ.) เกวียนอันเต็มแล้วด้วยงา, เกวียนบรรทุกงา.
ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
ถูล : (วิ.) เต็ม, ฯลฯ, หนัก, เขลา, โง่, ถูลฺ ปริพฺรูเน, อ.
ถูลิย : (วิ.) เต็ม, อ้วน, ฯลฯ.
ทฬฺหีกรณ : (นปุ.) การทำให้มั่น, การทำให้ มั่นคง, การทำการงานให้มั่น, การทำ การงานให้เต็มมือ.
ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
ทุปฺปูร : (วิ.) อัน...ให้เต็มได้ดดยยากล ให้เต็มได้ยาก.
ทุหณ : (ปุ.) ความเต็ม,ความให้เต็ม,การรีด,การรีดนม.ทุหฺปปูรเณ,ยุ,โณ.ส.โทห.
ทุหณ ทุหน : (นปุ.) ความเต็ม, ความยินดี. ทุหฺ ปปูรเณ, ยุ.
น : (วิ.) เต็ม, เต็มพร้อม, สมบรูณ์, บริบรูณ์. อุ. นคร ที่เป็นที่เต็มพร้อมแห่งเรือน, ที่เป็น ที่สมบรูณ์ด้วยเรือน, พระนคร. วิ. นํ สมุปนฺนํ ฆรํ เอตฺถาติ นครํ. น+ฆร แปลง ฆ เป็น ค. งาม, ดี. อุ. นาคนฺตุก แขกผู้มาดี (สุนฺทรคต อาคนฺตุก) น+อาคนฺตุก.
นงฺคลผาลาทิอุปกรณปูร : (วิ.) อันเต็มด้วย อุปกรณ์มีไถและผาล เป็นต้น.
นิติภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลตาม กฎหมาย, ภาวะตามกฎหมาย, นิติภาวะ. ไทย นิติภาวะคือ ความเป็นผู้มีอายุตามที่ กฎหมายกำหนดไว้ให้มีความสามารถ เต็มที่ตามกฎหมาย.
นิปาก : ค. อันเจริญเต็มที่, อันสุกเต็มที่
ปทปาริปูรี : อิต. คำที่ยังบทให้เต็ม, คำเสริมบท, ได้แก่ปทปูรณะ
ปทปูรณ : (ปุ.) บทอันยังเนื้อความให้เต็ม, บทบูรณ์ คือคำที่ทำให้คำประพันธ์ครบคำ ตามหลักหรือกฎเกณฑ์ของคำประพันธ์.
ปปูรณ : (นปุ.) การทำให้เต็ม, การรีดนม.
ปริปุณฺณ : กิต. เต็มเปี่ยมแล้ว, บริบูรณ์แล้ว, พร้อมสรรพแล้ว
ปริปุณฺณตา : อิต. ความบริบูรณ์, ความเต็ม, ความเพียบพร้อม
ปริปูรติ : ก. เต็มเปี่ยม, บริบูรณ์
ปริปูเรติ : ก. ให้เต็ม, ให้บริบูรณ์
ปาก : ป. การหุงต้ม; การทำให้สุก; ผลของกรรมอันสุกงอมเต็มที่
ปาริปนฺถิก : ๑. ป. นักปล้นในหนทาง, โจร;
๒. ค. มีอันตราย, เต็มไปด้วยอันตราย