อปฺปฏิวานิ (ณิ) ตา : อิต. ความไม่มีอุปสรรค, ความไม่มีสิ่งขัดขวาง
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
ตามร : (นปุ.) น้ำ, ทองแดง, ตามร. ส. ตามฺร.
ตารก : (ปุ.) ดาว, ดวงดาว. ดารา เอว ตารกา. ก สกัด อา อิต. ส. ตารก ตารกา ตารา.
ตารกา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว. ดารา เอว ตารกา. ก สกัด อา อิต. ส. ตารก ตารกา ตารา.
ตารกา ตารา : (อิต.) ลูกตา, ลูกตาดำ, แก้วตา. ส. ตารก ตารกา.
ตารกา, ตารา : อิต. ดาว; แก้วตา, ตุ๊กตาในลูกตา
ตารกิต : (วิ.) มีดาวเกิดแล้ว, เกลื่อนกล่นแล้ว ด้วยดาว. วิ. ตารกา สญฺชาตา อสฺส ตารกิตํ ( คคนํ ). ตารกา+อิต ปัจ. โมค ฯ ณาทิ กัณฑ์ ๔๕.
ตารณิ : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, ดารณี. ณิ ปัจ. ไม่ลบ ณฺ. ส. ตารณี.
ตารา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว, นักษัตร ( ดาว ฤกษ์มี ๒๗ หมู่). วิ. อกตฺตพฺพํ ตรนฺติ โลกา เอตายาติ ตารา. ตาเรติ วา โลกา อหิตโตติ ตารา. เต ปาลเน, โร อิตฺถิยํ อา.
ตาราปถ : (ปุ.) ทางแห่งดวงดาว, ทางดาว, กลาง หาว, อากาศ, ท้องฟ้า. วิ. ตารา วุจฺจนฺติ นกฺขตฺตาทโย, ตาสํ ปโถติ ตาราปโถ.
ตาลี ตาฬี : (อิต.) ต้นลาน. วิ. สณฺฐานโต ตาลสทิสตฺตา ตาลี ตาฬี อา อี ปัจ. ลงใน อรรถอุปมา หรือตั้ง ตฬฺ อาฆาเต, โณ, อตฺถิยํ อี. อภิฯ ลง อ ปัจ.
ตาวนฺตุ : (วิ.) มีประมาณเท่านั้น, มีประมาณ เพียงนั้น. ต+อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ เป็น ต+วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา. โมคฯ เป็นตาวนฺต.
ตาตุ : (วิ.) ผู้ต้อต้าน, ฯลฯ. ตุ ปัจ.
ตาทิน, ตาทิส, ตาทิสก, ตาที : ค. ซึ่งคงที่, ซึ่งเป็นเช่นนั้น, ซึ่งเหมือนอย่างนั้น
ตาปนีย : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. ดู ตปนีย.
ตาเปติ : ก. ให้เร่าร้อน, ทรมาน
ตารนาท : (ปุ.) เสียงจาม.
ตาราคณ : ป. หมู่ดาว, กลุ่มดาว
ตาราปติ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์.
ตารามณิวิตาน : นป. เพดานที่ประดับด้วยดาวซึ่งทำด้วยแก้ว
ตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ให้ผ่าน; ให้รีบเร่ง
ตาเรตุ : ก. ผู้ช่วยให้ข้าม
ตาลปกฺก : นป. ผลตาล, ลูกตาล
ตาลมิญฺช : นป. ลอนตาล, เนื้อตาล
ตาลาว : (ปุ.) ต้นโคคลาน ชื่อต้นไม้ใช้ทำยา ในจำพวกคูน.
ตาลาวตฺถุตก : ค. ต้นตาลที่มีรากขาดแล้ว, ต้นตาลที่ถอนรากแล้ว
ตาลิย : (ปุ.) กำยาน.
ตาลิส, - สก : นป. ต้นเฉียง ; ต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาได้ (ได้ผงและน้ำมันมาจากต้นไม้ชนิดนี้)
ตาลีส ตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปล ว่าสี่สิบ ( ทส นี้สำเร็จรูปมาจากสมาสแล้ว) เป็นจตฺตาร ลบ จต เหลือ ตาร แปลง ร เป็น ล ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ ลงโย วิภัตติ แปลง โย เป็น อีส รูปฯ ๒๕๔, ๑๕๖ และ ๓๙๗.
ตาวก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. ตาว+ ก ปัจ. สังชยาตัท.
ตาวิส : (ปุ.) สวรรค์, ทะเล, ลูกสาวพระอินทร์, แผ่นดิน ?
ตาสน : นป. การทำให้ตกใจกลัว, การเสียบประจาน
ตาสนิย : ค. น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง
ตาเสติ : ก. ให้สะดุ้ง, ให้ตกใจแล้ว
มมตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
กายปาคุญฺญ ตา : (อิต.) ความคล่องแคล่วแห่งกาย, ความแคล่วคล่องแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด. กายปุญฺฉน
กายลหุตา : (อิต.) ความเบาแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด เพื่อให้ศัพท์คุณเป็นนามนาม.
กาลญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ จักกาล. กาลญฺญู+ตา ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ ในเพราะตาปัจ.
กิจฺจยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งหน้าที่, ความเป็นหน้าที่. กิจฺจ+ยฺ และ อ อาคม ตา ปัจ.
จิตฺเตกคฺคตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตมี อารมณ์เป็นหนึ่ง, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท.
ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
ทฺวิตา : (อิต.) ความที่แห่ง....นั้นเป็นของสอง เท่า, ความเป็นของสองเท่า. ทฺวิ+ตา ปัจ. ภาวตัท.
ทีฆตา : (อิต.) ความยาว. ตา ปัจ ลงในภาวะ.
เทวตา : (อิต.) เทวดา, เทพดา, เทพยดา, เทวัญ. คำ เทวตา นี้หมายเอาทั้ง เทพบุตร เทพธิดา และพรหม. เทโว เอว เทวตา. ตา ปัจ. สกัด. อภิฯ และรูปฯ ๓๖๕. ศัพท์ ที่แปลว่า เทวดา มี ๑๕ ศัพท์ และใช้เป็น พหุ. ทั้งสิ้น. ส. เทวตา.
ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
ธมฺมนิยามตา : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, พระไตรลักษณ์. ตา ปัจ สกัด.
นิยามตา : (อิต.) ทำนอง อุ. ธมฺมนิยามตา ทำนองแห่งธรรม. ตา ปัจ. สกัด.
เปตเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปฏิบัติเกื้อกูลแก่บิดา, ความปฏิบัติเครื่องเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่บิดา. ตา ปัจ. ภาวตัท.