อิงฺฆาฬ : ป. ถ่าน, เถ้า
องฺคาร : (ปุ.) ถ่าน, ถ่านเพลิง, เถ้า.วิ. องฺคติหานึ คจฺฉตีติ องฺคาโร. องฺคฺ คมเน, อาโรเป็นนปุ.ก็มี เชิงตะกอน ก็แปล. ส. องฺคาร.
กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
กุกฺกุล, - กุฬ : ป. เถ้าหรือถ่าน, ถ่านเพลิง, ชื่อนรกขุมหนึ่ง
ฉาริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. วิ. มลสฺส สรณํ กโรตีติ สาริกา, สา เอว ฉาริกา.
ฉุริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. ฉาริกา เอว ฉุริกา.
เสฎฺฐ : (อิต.) เถ้า, เถ้าเย็น, ถ่านเย็น.
ถาน : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่, ดำรง, ดำรงอยู่, คง, คงอยู่.
มหาวิกฏ มหาวิกต : (นปุ.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
มหาวิกติ : (อิต.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
กณฺหวตฺตนี : ป. ไฟ, ไฟที่ทิ้งถ่านดำไว้
กุลงฺคาร : ป. บุคคลผู้เป็นดุจถ่านเพลิงแห่งวงศ์ตระกูล, ผู้ผลาญวงศ์ตระกูล
ขทิรงฺคชาตก : (นปุ.) ชาดกอันบัณฑิตกำหนด แล้วด้วยถ่านแห่งไม้ตะเคียน.
ฉวาลาต : นป. ถ่านไฟจากฟืนเผาศพ
นรกงฺคาร : ป. ถ่านไฟนรก, เพลิงแห่งความชั่ว
ภสฺมีกรณ : (วิ.) ทำให้เป็นเถ้า, เผา, ไหม้.
องฺคารกฏาห, องฺคารกปลฺล : ป. กระเบื้องใส่ขี้เถ้า, เชิงกราน
องฺคารกปลฺล : (นปุ.) กระเบื้องแห่งถ่านเพลิง, เชิงกราน, อั้งโล่, เตาอั้งโล่, ตะคันชื่อเครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบหรือเผากำยาน.
องฺคารกมฺมกร : ป. คนเผาถ่าน
องฺคารกาสุ : อิต. เตาไฟ, หลุมถ่าน
องฺคารราสิ : ป. กองถ่านเพลิง
องฺคาริก : ป. คนเผาถ่าน
อลาต : (นปุ.) ฟืน, ลูกไฟ, ถ่านไฟ, ดุ้นไฟ.วิ.หานิเมวลาตินฐิติวิเสสญฺจาติอลาตํ.นปุพฺโพ, ลาอาทาเน, โต.อลตีติวาอลาตํ.อลฺพนฺธเน, อ, โต.ส.อลาต.
อิงฺฆาฬกุ, - ฬขุ : อิต. หลุมถ่าน, บ่อถ่าน
อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
อุทฺธสุธ : (นปุ.) ดินปนเถ้ากับขี้วัว. เป็น อุทฺธาสุธ บ้าง.
อุมฺมุก : (นปุ.) ฟืน, ลูกไฟ, ประกายไฟ, ดอก ไฟ, ถ่านไฟ. วิ. อุทฺธํ ธูมํ มุญฺจตีติ อุมฺมุกํ. อุทฺธํปุพฺโพ, มุจฺ มุญฺจเน, อ. โมคฯ วิ. อุสฺตีติ อุมฺมุกํ. อุสฺ ทาเห, อุโก, สสฺส โม, ทฺวิตฺตํ.
ถานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ที่อัน พิเศษ, ถานันดร ( ลำดับชั้นบุคคล ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์ หน้าที่ การงาน).
ถามก : ค. มีเรี่ยวแรง, มีกำลัง
ถามวนฺตุ : ค. ผู้มีเรี่ยวแรง, ผู้มีกำลัง
ถาลิก : (ปุ.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
ถาลิกปาก : (ปุ.) สำรับ (ภาชนะที่ใส่กับข้าว คาวหวาน).
ถาลิ ถาลิกา ถาลี : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
ถาลิโธวน : นป. การล้างชาม, การล้างหม้อ
ถาลิปาก : ป. หม้อข้าว, การเลี้ยงเพื่อมงคล
ถาลี : อิต. หม้อข้าว, หม้อดิน, ชามใหญ่
สนฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ตั้งพร้อม, โรงรับแขก. สนฺถ สำเร็จรูปมาจาก สํ บทหน้า ถา ธาตุ อ ปัจ.
คูถฏฐาน : นป. ส้วม, ที่ถ่ายคูถ, ถาน, เวจ
ติณวตฺถารก : (ปุ.) ติณวัตถาระกะ ชื่อวิธีระงับ อธิกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการประนีประนอมกันทั้งสองฝ่าย ไม่ต้องชำระความเดิม.
ปถาวี ปถิก : (ปุ.) คนไปในหนทาง, คนไปสู่ หนทาง, คนเดินทาง วิ. ปเถ ปถํ วา คจฺฉตีติ ปถาวี. วี ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ถ เป็น อา. อภิฯ ลง วี ปัจ.รูปฯ และ โมคฯ ลง อาวี ปัจ. ศัพท์ หลัง วิ. เหมือน ปถาวี. อภิฯ ลง อิก ปัจ.รูปฯ ลงณิก ปัจ.
มนฺถาน : (ปุ.) มันถานะ ชื่อภาชนะวิกัติสำหรับคนนมโคให้เป็นเนย.
วจฺจกุฏิ : อิต. กระท่อมที่ถ่ายอุจจาระ, เวจ, ถาน, ส้วม
สพฺพถา : (อัพ. นิบาต) ซึ่งประการทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง. วิ. สพฺพํ ปการํ สพฺพถา. สพฺเพน วา ปกาเรน สพฺพถา. รูปฯ ๔๐๕
หตฺถาณึก หตฺถานึก : (นปุ.) หัตถานึก ช้าง ๓ เชือก แต่ละเชือกมีพลประจำ ๑๒ คน ชื่อ หัตถานึก, กองพลช้าง, กองทัพช้าง.
หตฺถาโรห : (ปุ.) ควาญช้าง, นายควาญช้าง. วิ. หตฺถึ อารูหตีติ หตฺถาโรโห. หตฺถีปุพฺโพ, รุหฺ รุฬฺหเน, โณ. กองช้าง ก็แปล.
อญฺญถาภาว : (ปุ.) ความเป็นโดยประการอื่นความเป็นอย่างอื่น, ความแปรปรวน, ความเปลี่ยนแปลง, ความตรงกันข้าม, ความต่อสู้, วิปลาส.วิ.อญฺเญน ปกาเรนภาโว อญฺญถาภาโว.
อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
อวตฺถา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความดำรงอยู่, ความกำหนด, อวปุพฺโพ, ถาคตินิวตฺติยํ, อ, ตฺสํโยโค.ส.อวสฺถา.
อิตฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนคือหญิง, เรือนของ หญิง, พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, ห้องพระมเหสี. วิ. ราชิตฺถีน มคารํ อิตฺถาคารํ. โดยอุปจารโวหาร หมายเอา นางสนม กำนัล ก็ได้.
อุโปสถาคาร : นป. อุโบสถาคาร, โบสถ์, โรงอุโบสถ