เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
มชฺฌิมเทส มชฺฌิมปเทศ : (ปุ.) มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.
เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
เทสธมฺม : (ปุ.) กฏหมายของประเทศ. ส. เทศธรฺม.
สาปเทส : (วิ.) มีที่อ้าง, มีที่อ้างอิง. สห+อป เทส.
นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
เอกเทส : (ปุ.) ภาคหนึ่ง, ส่วนหนึ่ง, เอกเทส เอกเทศ (เฉพาะอย่าง). ส. เอกเทศ.
เอกุทฺเทส : (วิ.) มีอุทเทสเดียวกัน, มีอุเทส เดียวกัน.
โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
กฏิปเทส : ป. ก้น, สะโพก
กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
กูลเทส : (ปุ.) ฝั่งแห่งมหาสมุทร, ฝั่งมหาสมุทร.
ขนฺธเทส : (ปุ.) ที่ที่คอ, ที่ที่คอช้างตรงควาญ ช้างนั่ง. ดูรูปภาพจิตรกรรมประกอบ. วิ. ขนฺโธ เอว เทโส ขนฺธเทโส.
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชนปทปเทส : ป. ถิ่นที่อันเป็นชนบท, ส่วนชนบท
ชนปเทส : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ในชนบท, จอมชนบท, เจ้าเมือง วิ. ชนปเท อีโส ชนปเทโส.
ทกฺขิณเทส : ป. ประเทศทางใต้, ดินแดนทางทิศใต้
ทยฺยเทส ทยฺยปเทส : (ปุ.) ประเทศไทย.
นิชฺชลเทส : (ปุ.) ประเทศไม่มีน้ำ, ที่ไม่มีน้ำ.
นิชเทส : ป. ประเทศของตนเอง
นิปฺปเทส : ค. ซึ่งรวมกัน, ซึ่งไม่แยกออกจากกัน
ปจฺจาเทส : ป. การบอกคืน, ไม่ยอมรับ
ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
ปเทสญาณ : นป. ความรู้ในธรรมเพียงบางส่วน, ความรู้ที่มีขอบเขตจำกัด
ปเทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ
ปาฏิโมกฺขุทฺเทส : ป. การสวดปาฏิโมกข์, การแสดงปาฏิโมกข์
ภูมิปฺปเทส : ป. ภูมิภาค, ส่วนแห่งภาคพื้น
มชฺฌเทส : (ปุ.) ประเทศอันตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.
มหาปเทส : (ปุ.) ประเทศใหญ่, มหาประเทศ. คือประเทศที่มีกำลังมาก ทั้งทางการเมือง ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ.
มิลกฺขเทส : ป. ภูมิประเทศเป็นที่อยู่ของคนป่า
มิลกฺขเทส มิลกฺขปเทส : (ปุ.) ประเทศของคนป่า, ปัจ จันตประเทศ, ประเทศปลายแดน.
วิทฺเทส : ป. ความโกรธแค้น
วิเทส : ป. ต่างประเทศ
สนฺเทส : ป. การชี้แจ้ง, การแสดง, ข่าวสาร
สมณุทฺเทศ : (ปุ.) สามเณร วิ. สมณลิงฺคาจารฺตฺตา สมโณ อยนฺติ อุทฺทิสิตพฺโพติ สมณุเททฺโส.
สมณุทฺเทส : ป. สามเณร
อญฺญสตฺถุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นซึ่งศาสนาอื่น, การเข้ารีดศาสนาอื่น.
อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
อาเทส : (ปุ.) การแปลง, การแผลง (สระพยัญชนะและ นิคคหิตตามกฏของบาลีไวยากรณ์), การเปลี่ยนแปลง.อาปุพฺโพ, ทิสฺหึสายํ, อ.ส.อาเทศ.
อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
เตลปณฺณิก : (นปุ.) จันทน์เหลือง, จันทน์- เทศ. ติลปณฺณปฺปมาณปตฺตยุตฺตตาย เตลปณฺณิกํ. ณิก ปัจ.
กฏุกภณฺฑ : นป. เครื่องเทศ
กุมฺภกณฺณ : (ปุ.) กุมภกรรณ ชื่อยักษ์มีหูใหญ่ใส่ หม้อได้ เป็นน้องของทศกัณฐ์.
โคสีส : (นปุ.) จันทร์เหลือง, จันทร์เทศ (เย็นเหมือนน้ำ). วิ. โคสีสากติปพฺพเต มลเยกเทเส ชาตํ โคสีสํ. โค วิย ชลํ วิย สีตนฺติ โคสีสํ ตสฺส โส.
จมฺปก : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, จัมปกะ ชื่อเมืองในแคว้นมคธ.
จมฺเปยฺย : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, มะม่วง, ต้นมะม่วง. วิ. ปฐมกาเล จมฺปา- นคเร ชาตตฺตา จมฺเปยฺโย เอยฺยปัจ.
ชงฺคล : (ปุ.) ภาคพื้นที่กระด้างขรุขระ (ถทฺธลูข- ภูมิปเทส). ชลปุพฺโพ, คลฺ อทเน, อ. ลบ ล ที่ชล และลงนิคคหิตอาคม.
ชาติโกส : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ. วิ. โกสสหิตํ ชายติ ผล เมตสฺสาติ ชาติโกสํ.