เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
ทส : (ไตรลิงค์) สิบ. ส. ทศน.
ทสพล : (ปุ.) พระทสพล พระนามของพระ พุทธเจ้าทั้งปวง อภิฯ วิ. ทานสีลขนฺตฺ- ยาทโย ฐานาฐานญฺญทาโย วา ทส พลานิ อสฺเสติ ทสพโล. รูปฯ ๓๓๗ วิ. ทส พลานิ อสฺสาติ ทสพโล (มีกำลังสิบ). ฉ พหุพ.
ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
ทสสหสฺส : (นปุ.) พันสิบ, พันสิบหน, สิบพัน, หมื่น. วิ. สหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสหสฺสํ.
ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
ทสพลูเปต : (วิ.) ประกอบแล้วด้วยพระ ทศพลญาณ.
ทสวิธ : ค. มีอย่างสิบ, มีสิบชนิด
ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
เทสธมฺม : (ปุ.) กฏหมายของประเทศ. ส. เทศธรฺม.
จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
สาปเทส : (วิ.) มีที่อ้าง, มีที่อ้างอิง. สห+อป เทส.
อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
ทิส : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู. วิ. ทิสตีติ ทิโส. ทิสฺ อปปีติยํ, อ. ทุสฺสตีติ วา ทิโส. ทุสฺ โทสเน, อ. แปลง อุ เป็น อิ.
โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
เอกเทส : (ปุ.) ภาคหนึ่ง, ส่วนหนึ่ง, เอกเทส เอกเทศ (เฉพาะอย่าง). ส. เอกเทศ.
เอกุทฺเทส : (วิ.) มีอุทเทสเดียวกัน, มีอุเทส เดียวกัน.
กฏิปเทส : ป. ก้น, สะโพก
กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
กูลเทส : (ปุ.) ฝั่งแห่งมหาสมุทร, ฝั่งมหาสมุทร.
ขนฺธเทส : (ปุ.) ที่ที่คอ, ที่ที่คอช้างตรงควาญ ช้างนั่ง. ดูรูปภาพจิตรกรรมประกอบ. วิ. ขนฺโธ เอว เทโส ขนฺธเทโส.
จตุทส จตุทฺทส จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยสี่, สิบสี่.
โจทฺทส : ค. สิบสี่
โจทส โจทฺทส : (อัพ. นิบาต) สิบสี่. ดู จุทฺทส.
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชนปทปเทส : ป. ถิ่นที่อันเป็นชนบท, ส่วนชนบท
ชนปเทส : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ในชนบท, จอมชนบท, เจ้าเมือง วิ. ชนปเท อีโส ชนปเทโส.
ทกฺขิณเทส : ป. ประเทศทางใต้, ดินแดนทางทิศใต้
ทยฺยเทส ทยฺยปเทส : (ปุ.) ประเทศไทย.
ทีฆทส : ค. มีชายยาว
โทสี : ค. ผู้มีโทสะ, ผู้โกรธ
โทโส : (อัพ. นิบาต) ราตรี (กลางคืน), ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), หัวค่ำ.
นิชฺชลเทส : (ปุ.) ประเทศไม่มีน้ำ, ที่ไม่มีน้ำ.
นิชเทส : ป. ประเทศของตนเอง
นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
นิปฺปเทส : ค. ซึ่งรวมกัน, ซึ่งไม่แยกออกจากกัน
ปจฺจาเทส : ป. การบอกคืน, ไม่ยอมรับ
ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
ปเทสญาณ : นป. ความรู้ในธรรมเพียงบางส่วน, ความรู้ที่มีขอบเขตจำกัด
ปเทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ
ปาฏิโมกฺขุทฺเทส : ป. การสวดปาฏิโมกข์, การแสดงปาฏิโมกข์
ภูมิปฺปเทส : ป. ภูมิภาค, ส่วนแห่งภาคพื้น
มชฺฌเทส : (ปุ.) ประเทศอันตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.
มชฺฌิมเทส มชฺฌิมปเทศ : (ปุ.) มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.