Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เทส , then ทส, เทศ, เทส, เทสะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เทส, 131 found, display 1-50
  1. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  2. เทสธมฺม : (ปุ.) กฏหมายของประเทศ. ส. เทศธรฺม.
  3. สาปเทส : (วิ.) มีที่อ้าง, มีที่อ้างอิง. สห+อป เทส.
  4. มชฺฌิมเทส มชฺฌิมปเทศ : (ปุ.) มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.
  5. เอกเทส : (ปุ.) ภาคหนึ่ง, ส่วนหนึ่ง, เอกเทส เอกเทศ (เฉพาะอย่าง). ส. เอกเทศ.
  6. เอกุทฺเทส : (วิ.) มีอุทเทสเดียวกัน, มีอุเทส เดียวกัน.
  7. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
  8. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  9. เทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
  10. อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
  11. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  12. กฏิปเทส : ป. ก้น, สะโพก
  13. กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
  14. กูลเทส : (ปุ.) ฝั่งแห่งมหาสมุทร, ฝั่งมหาสมุทร.
  15. ขนฺธเทส : (ปุ.) ที่ที่คอ, ที่ที่คอช้างตรงควาญ ช้างนั่ง. ดูรูปภาพจิตรกรรมประกอบ. วิ. ขนฺโธ เอว เทโส ขนฺธเทโส.
  16. ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
  17. ชนปทปเทส : ป. ถิ่นที่อันเป็นชนบท, ส่วนชนบท
  18. ชนปเทส : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ในชนบท, จอมชนบท, เจ้าเมือง วิ. ชนปเท อีโส ชนปเทโส.
  19. ทกฺขิณเทส : ป. ประเทศทางใต้, ดินแดนทางทิศใต้
  20. ทยฺยเทส ทยฺยปเทส : (ปุ.) ประเทศไทย.
  21. ทส : (ไตรลิงค์) สิบ. ส. ทศน.
  22. นิชฺชลเทส : (ปุ.) ประเทศไม่มีน้ำ, ที่ไม่มีน้ำ.
  23. นิชเทส : ป. ประเทศของตนเอง
  24. นิปฺปเทส : ค. ซึ่งรวมกัน, ซึ่งไม่แยกออกจากกัน
  25. ปจฺจาเทส : ป. การบอกคืน, ไม่ยอมรับ
  26. ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
  27. เทสญาณ : นป. ความรู้ในธรรมเพียงบางส่วน, ความรู้ที่มีขอบเขตจำกัด
  28. เทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ
  29. ปาฏิโมกฺขุทฺเทส : ป. การสวดปาฏิโมกข์, การแสดงปาฏิโมกข์
  30. ภูมิปฺปเทส : ป. ภูมิภาค, ส่วนแห่งภาคพื้น
  31. มชฺฌเทส : (ปุ.) ประเทศอันตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.
  32. มหาปเทส : (ปุ.) ประเทศใหญ่, มหาประเทศ. คือประเทศที่มีกำลังมาก ทั้งทางการเมือง ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ.
  33. มิลกฺขเทส : ป. ภูมิประเทศเป็นที่อยู่ของคนป่า
  34. มิลกฺขเทส มิลกฺขปเทส : (ปุ.) ประเทศของคนป่า, ปัจ จันตประเทศ, ประเทศปลายแดน.
  35. วิทฺเทส : ป. ความโกรธแค้น
  36. วิเทส : ป. ต่างประเทศ
  37. สนฺเทส : ป. การชี้แจ้ง, การแสดง, ข่าวสาร
  38. สมณุทฺเทส : ป. สามเณร
  39. อญฺญสตฺถุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นซึ่งศาสนาอื่น, การเข้ารีดศาสนาอื่น.
  40. อาเทส : (ปุ.) การแปลง, การแผลง (สระพยัญชนะและ นิคคหิตตามกฏของบาลีไวยากรณ์), การเปลี่ยนแปลง.อาปุพฺโพ, ทิสฺหึสายํ, อ.ส.อาเทศ.
  41. เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
  42. อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
  43. ชงฺคล : (ปุ.) ภาคพื้นที่กระด้างขรุขระ (ถทฺธลูข- ภูมิปเทส). ชลปุพฺโพ, คลฺ อทเน, อ. ลบ ล ที่ชล และลงนิคคหิตอาคม.
  44. เทวมาติก : (ไตรลิงค์) ที่มีข้าวกล้าสำเร็จด้วยฝน. วิ. เทโว มาตา อสฺสาติ เทวมาติโก. พหุพฺพีหิมฺหิ โก. วุฎงินิปฺผชฺชสฺสกเทส ประเทศมีข้าวกล้าสำเร็จด้วยฝน ฎีกาอภิฯ.
  45. สุสุ : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น. สสฺ ปาณเน, อุ. อสฺสุ. กัจฯและรูปฯ ๖๔๘ ตั้ง ตรุณ ศัพท์อาเทส เป็น สุสุ.
  46. อจฺฉริยอจฺฉิริยอจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์.วิ. อจฺฉรํปหริตุยุตฺตนฺติอจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ.กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺเป็นจฺฉรจฺฉริยและ จฺเฉร รัสฺสะอา บทหน้าเป็นอ
  47. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  48. ทสพล : (ปุ.) พระทสพล พระนามของพระ พุทธเจ้าทั้งปวง อภิฯ วิ. ทานสีลขนฺตฺ- ยาทโย ฐานาฐานญฺญทาโย วา ทส พลานิ อสฺเสติ ทสพโล. รูปฯ ๓๓๗ วิ. ทส พลานิ อสฺสาติ ทสพโล (มีกำลังสิบ). ฉ พหุพ.
  49. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  50. ทสสหสฺส : (นปุ.) พันสิบ, พันสิบหน, สิบพัน, หมื่น. วิ. สหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสหสฺสํ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-131

(0.0459 sec)