อุมฺมาน : (วิ.) ชั่งน้ำหนัก, เทียบ, เทียบกัน, วัด, วัดกัน. อุปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
โกปี : (วิ.) ผู้มักโกรธ, ฯลฯ. ดู โกธน เทียบ. ณี ปัจ.
เตมาส : (นปุ.) หมวดสามแห่งเดือน, หมวดแห่งเดือนสาม, ไตรมาส ( สามเดือน ), ดู วิ. ที่ศัพท์ เตปิฏก(นปุ.) เทียบ.
ทีฆทสฺสี : (วิ.) ผู้เห็นกาลนาน, ผู้เห็นกาล นานโดยปกติ. ฯลฯ, ผู้มีปกติเห้นกาลไกล, ณี ปัจ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
นครวาสี : (วิ.) ผู้อยู่ในพระนคร, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
นิกฺกสาว : (วิ.) มีรสฝาดออกแล้ว, ไม่มีน้ำฝาด คือราคะ, มีกิเลสเพียงดังน้ำฝาดออกแล้ว, ออกแล้วจากกิเลสเพียงดังน้ำฝาด. วิ. ดู นิกฺกาม เทียบ.
ปนุนฺนาท : (ปุ.) ชุมเห็ด ( รักษาหิด ). ดู ปปุนฺนาฏ เทียบ.
ปมตฺตจารี : (ปุ.) ผู้ประพฤติประมาทโดยปกติ, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
ปุเรจารี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ฯลฯ. ดู ปุเรคามี เทียบ.
พฺรหฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ. วิ. พฺรหฺมํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ณี ปัจ. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ วิ. พฺรหฺมจริยํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์โดยปกติ, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. อีก ดู ธมฺมจารี เทียบ.
มนฺทคามี : (วิ.) เดินช้า, เดินช้าโดยปกติ, ฯลฯ. ณี ปัจ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
มโนสสุจริต : (ปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติดีแล้วด้วยใจ, ฯลฯ. ดู มโนทุจฺจริต เทียบ.
สุนข : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุนข ยังมีนัยอื่นอีก ดู สุณข เทียบ. ศ. ศุนก.
เอกูนวีสติ : (อิต.) ยี่สิบหย่อนด้วยหนึ่ง, ยี่สิบ หย่อนหนึ่ง, สิบเก้า. วิ. เทียบ เอกูนตึส.
กิตฺติม : (วิ.) ปลอม, แกล้งทำ (ของ...). กิตฺตฺ ธาตุในความเปรียบเทียบ อิม ปัจ.
ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
ตุลิต : กิต. ชั่งแล้ว, ตวงแล้ว, เปรียบเทียบแล้ว, พิจารณาแล้ว
ตุเลติ : ก. ช่าง, ตวง, วัด, เปรียบเทียบ, พิจารณา
โตลน : (นปุ.) การชั่งน้ำหนัก, การวัดกัน, การเทียบกัน, ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ. ส. โตลน.
ทิฏฺฐสสนฺทน : ป. การเปรียบเทียบทิฐิด้วยสิ่งที่ตนเห็น, การเปรียบเทียบความคิดเห็น, การสนทนากันเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น
ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
โทสสม : ค. ซึ่งเสมอด้วยโทสะ, ซึ่งเทียบได้กับโทสะ
นิรุปม : ค. ปราศจากสิ่งเปรียบเทียบ, หาสิ่งเปรียบเทียบไม่ได้
ปฏิปุคฺคล : ป. บุคคลที่เปรียบเทียบ, คนทัดเทียม, คู่แข่ง
ปฏิปุคฺคลิก : ค. มีคนทัดเทียม, มีคนเปรียบเทียบ, อันเป็นของแห่งคู่แข่ง
ปฏิภาค : ค., ป. มีส่วนเปรียบได้, ซึ่งเปรียบเทียบกันได้, ซึ่งคล้ายคลึง, เท่ากัน; คนทัดเทียม, ศัตรู, ความเหมือนกัน; ความคล้ายคลึงกัน; คำตอบ
ปฏิภาคนิมิตฺต : นป. ปฏิภาคนิมิต, นิมิตเทียบเคียง
สสนฺทติ : ก. เปรียบเทียบ, ไหลไป
สสนฺทนา : อิต. การเทียบเคียงกัน
หตฺถิก : (ปุ.) ตุ๊กตาช้าง. หตฺถี+ก ปัจ. ลงในอรรถเปรียบเทียบ รัสสะ อี เป็น อิ. สัตว์นี้เพียงดังช้าง วิ. หตฺถี อิว อยํ สตฺโต หตฺถิโก.
อติตุล : ค. ซึ่งเทียบไม่ได้, ซึ่งชั่งไม่ได้
อตุลอตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มีความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
อตุล อตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มี ความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
อปฺปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบหามิได้, ไม่มีส่วนเปรียบ, เทียบไม่ได้.
อุปนิกฺเขป : ป. การวางไว้ใกล้, การตั้งไว้ใกล้, การให้คำมั่นสัญญา, การวางประกัน, การหยิบเอาไปวางเปรียบเทียบ
อุปนิธา : อิต. การเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง
อุปนิธาย : อ. อย่างเทียบเคียง
อุปม : ค. มีอุปมา, เปรียบเทียบได้
อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
อุปเมติ : ก. อุปมา, เปรียบเทียบ
อุปเมยฺย : ค. อุปไมย, สิ่งที่เขาพึงเปรียบเทียบได้
อุปสหรณ : นป. การนำมาพร้อม, การนำมาเปรียบเทียบ
อุปสหรติ : ก. นำมาพร้อม, นำมารวมกัน, พิจารณา, เอาใจใส่, ช่วยเหลือ, เปรียบเทียบ