เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
เทวปุตฺต : (ปุ.) เทวบุตร, เทพบุตร, เทวดา ผู้ชาย. ส. เทวปุตฺร.
เทวานุภาว : ป. อานุภาพของเทวดา, เทวานุภาพ
เทวาลย : (ปุ.) ที่อยู่ของเทวดา, ประเทศเห็นที่อยู่เทวดา, เทวาลัย ชื่อสถานที่เป็นที่ประดิษฐานเทวรูปฯ โบสถ์พราหมณ์, วัดของศาสนาฮินดู. ส. เทวาลย.
เทวิตฺถี : (อิต.) นางอัปษร วิ. เทวานํ อิตฺถิโย เทวภูตา วา อิตฺถิโย เทวิตฺถิโย.
เทสก : ค. ผู้แสดง, ผู้ชี้แจง, ผู้แนะนำ, ผู้อธิบาย, ผู้เทศก์
เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
เทสิก :
๑. ค. ดู เทสก๒. ค. ซึ่งมีในถิ่น, ซึ่งเกิดในประเทศ, ซึ่งเนื่องในประเทศ
เทหี : (ปุ.) สัตว์, วิ. เทโห อสฺสาคฺถีติ เทหี. อี ปัจ.
เทติ : ก. ให้
เทวกญฺญา : อิต. เทพกัญญา, นางฟ้า
เทวกุญฺชร : ค., ป. ผู้เป็นดุจกุญชรในหมู่เทพ, ผู้ประเสริฐในหมู่เทวดา; พระอินทร์
เทวน : (นปุ.) การกล่าว, การพูด, คำกล่าว, คำพูด. เทวุ วจเน. ยุ.
เทวาติเทว : (ปุ.) เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดา, เทวดาล่วงเสียซึ่งเทวดา, เทวดาผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, เทวดาและเทวดาผู้ยิ่ง.
เทวานมินฺท : (วิ.) ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา ท.
เทวายุธ : นป. รุ้ง, รุ้งกินน้ำ
เทวาสน : นป. ที่นั่งของเทวดา, ทิพยอาสน์
เทวาสุรสงฺคาม : (ปุ.) สงครามแห่งเทวดาและอสูร, การรบกันระหว่างเทวดาและอสูร.
เทวิทฺธิ : ป. ฤทธิ์ของเทวดา, เทวฤทธิ์
เทวิสิ : ป. เทพฤษี หมายถึงพระพุทธเจ้า
เทเวตาปริโภค : ค. ซึ่งเทวดาควรบริโภค, ควรเป็นของบริโภคสำหรับเทวดา
เทโวโรหณ : (นปุ.) การลงจากเทวดา, การลงจากเทวโลก การลงจากสวรรค์. เทวโลกหรือสวรรค์ในที่นี้หมายเอาเฉพาะสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์
เทโวโรหณสมาคม : (ปุ.) การมาพร้อมกัน (ประชุมกัน) ในกาลเป็นที่เสด็จลงจากเทวโลก.
เทสก เทสิก : (วิ.) ผู้แสดง, ผู้บรรยาย, ผู้ชี้แจง, ผู้สอน. ทิสฺ ทิสิ วา อุจจารเณ, ณวุ. ส. เทศก.
เทสนาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
เทสนาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่ง เทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
เทสนาวิลาส : ป. ความไพเราะแห่งเทศนา, ทำนองเทศน์อันไพเราะ, ลีลาการแสดงธรรมอันจับใจ
เทสปาล : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
เทสมนฺตี : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
เทสิต : กิต. (อันเขา) แสดงแล้ว, ชี้แจงแล้ว, อธิบายแล้ว, เทศน์แล้ว
เทเสติ : ก. แสดง, ชี้แจง, แนะนำ, สั่งสอน, เทศน์; แสดงหรือปลง (อาบัติ)
เทเสตุ : (วิ.) ผู้แสดง. ทิสฺ ธาตุ ริตุ ปัจ.
เทหก :
นป. ดู เทห(เมื่อใช้ในรูปพหูพจน์ แปลว่า แขนขา)
เทหนิกฺเขปน : นป. การทอดทิ้งร่างกาย, การตาย
เทหนิสฺสิต : ค. ซึ่งอาศัยกาย, ซึ่งเนื่องด้วยร่างกาย, ซึ่งอยู่ในร่างกาย
คุณเทสนาปริยตฺตินิสฺสตฺตนิชฺชีววส : (วิ.) อันสามารถแห่งคุณธรรมและเทสนาธรรม และปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม.
เทวล เทวิย : (วิ.) ผู้อันเทวดาให้แล้ว วิ. เทเวน ทตฺโต เทวโล เทวิโย วา. ล. อิยปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๘
ปริเทวน : (นปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
ปริเทวิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้ ร้องไห้แล้ว, ฯลฯ. ปริเทวิต+ตฺต ปัจ. แปล ปริเทวิต เป็น กิริยากิตก์. ความเป็น แห่ง...เป็นผู้ร้องไห้, ฯลฯ. แปล ปริเทวิต เป็นนาม.
มคฺคุทฺเทสก : (ปุ.) คนผู้นำทาง, คนผู้นำคนอื่นเที่ยว, มัคคุเทสก์ (ผู้นำคนอื่นซึ่งไม่ชำนาญทางหรือสถานที่นั้นๆ เที่ยว).
สามุกฺกสิกเทสนา : (อิต.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
อวเทหก : ค. เต็มอิ่ม, เต็มท้อง เช่นคำว่า อุทราวเทหกโภชนํ = อาหารหนัก
อุทฺเทสิกเจติย : (นปุ.) อุทเทสิกเจดีย์ เจดีย์ที่ สร้างขึ้นโดยเจตนาให้เป็นปูชนียวัตถุแทน องค์พระพุทธเจ้า เช่น พระพุทธรูป.
โจเทติ : ก. โจท, ท้วง, กล่าวหา, ติเตียน, เตือน
ฉทฺเทติ : ก. อาเจียน, อ้วก, ราก
ฉาเทติ : ก. ปกปิด, กำบัง, ห่อหุ้ม; ให้ดีใจ, ให้ยินดี, ชอบ