ปฏิจฺจ : อ., กิต. อาศัย, อิง, เนื่อง, เกี่ยวกับ
นิพทฺธ นิพฺพทฺธ นิวทฺธ : (อัพ. นิบาต) เนื่อง กัน, ฯลฯ.
เธยฺย : (วิ.) ตั้ง, เนื่อง.
พีภจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วภาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น ภ แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
กจฺจาน กจฺจายน กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่า กอแห่งกัจจะ, คนเนื่องในวงศ์กัจจะ อิตถิ ลิงค์ลง อี การันต์.
กมฺมก : ค. ที่เนื่องด้วยกรรม, ซึ่งอาศัยกรรม
กมฺมนิพนฺธน : ค. อันเกี่ยวเนื่องด้วยกรรม
กามโลก : ป. กามโลก, โลกที่เนื่องด้วยกาม
กายปฏิพทฺธ : ค. ที่เนื่องด้วยกาย, เกี่ยวข้องด้วยกาย
กายพทฺธ : ค. อันผูกพันทางกาย, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยกาย
กุลิก : ค. เป็นไปกับด้วยตระกูล, ซึ่งเนื่องด้วยตระกูล, อันเป็นของตระกูล
โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
ขาริก : ๑. ค. มีรสเค็ม, มีรสแสบ;
๒. ค. เนื่องด้วยมาตราตวงชื่อว่า ขารี
คณสงฺคนิก : ค. อันเกี่ยวข้องด้วยหมู่, อันนับเนื่องในหมู่
คิมฺหิก : ค. มีความร้อน, อันมีในฤดูร้อน, เนื่องด้วยความร้อน
ฆเฏติ : ก. พยายาม, สืบต่อ, ต่อเนื่อง
จิตฺตเจตสิก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยจิตและเจตสิก
เจตนก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยเจตนา, มีความคิด, มีความตั้งใจ
โจฬิย : ค. ซึ่งอยู่ในแคว้นโจฬะ, ซึ่งมีในแคว้นโจฬะ, ซึ่งเนื่องด้วยแคว้นโจฬะ, เป็นชาวแคว้นโจฬะ
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
ฐิติก : ค. ผู้ยืนอยู่, ผู้ดำรงอยู่, ผู้เนื่องอยู่ด้วย
ตโตนิทาน : ก. วิ. มีสิ่งนั้นเป็นเหตุ, เนื่องด้วยสิ่งนั้น
ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ;
๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
ทิฏฺฐานุสย : ป. อนุสัยคือทิฐิ, กิเลสที่นอนเนื่องในสันดานคือทิฐิ
เทสิก :
๑. ค. ดู เทสก๒. ค. ซึ่งมีในถิ่น, ซึ่งเกิดในประเทศ, ซึ่งเนื่องในประเทศ
เทหนิสฺสิต : ค. ซึ่งอาศัยกาย, ซึ่งเนื่องด้วยร่างกาย, ซึ่งอยู่ในร่างกาย
นกฺข : (นปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
นาฬิเกริก : ค. อันเนื่องด้วยต้นมะพร้าว, ซึ่งมีต้นมะพร้าว
นิทาน : อ. โดยอาศัย, เนื่องมาจาก, ต่อจาก, ลำดับ
นิพทฺธ นิวทฺธ : (วิ.) เนื่องมีระหว่างออกแล้ว, เนื่องมีระหว่างคั่นไม่มี, เนื่องไม่มีระหว่าง คั่น, เนื่องกัน, ติดต่อกัน, เนืองๆ, เนือง นิตย์, เสมอ, ประจำ.
นิพนฺธ นิพฺพนฺธ : (ปุ.) การผูก, การต่อเนื่อง, การตั้งใจ, ความผูก, ฯลฯ, การแต่งหนังสือ. ส. นิพนฺธ.
นิพฺพานปฏิสญฺญุต : ค. อันปฏิสังยุตด้วยนิพพาน, ซึ่งพาดพิงถึงนิพพาน, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยนิพพาน
นิสฺสย : ป. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ความประพฤติที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน
ปฏิปาฏิยา : อ. โดยลำดับ, ตามลำดับ, โดยสืบเนื่องกัน
ปฏิพทฺธ : ค. ซึ่งเกี่ยวเนื่อง, ซึ่งเนื่องอยู่, ซึ่งอาศัย, อันติดอยู่, อันผูกพัน
ปฏิพนฺธ : ค. ซึ่งผูกพัน, ซึ่งติดอยู่, อันเกี่ยวข้อง, อันเนื่องด้วย
ปฏิสนฺทหติ : ก. สืบต่อ, ต่อเนื่อง, เกิดใหม่, ปฏิสนธิ
ปฏิสนฺธาน : นป. การสืบต่อ, การต่อเนื่อง, การสมาน
ปฏิสารณิยกมฺม : นป. ปฏิสารณียกรรม, กรรมเนื่องด้วยการลงโทษพระภิกษุผู้ทำความผิดต่อคฤหัสถ์โดยให้ไปขอขมาเขา
ปณฺณตฺติวชฺช : นป. โทษอันเนื่องมาแต่พระบัญญัติ, ความผิดทางพระวินัย
ปทสสคฺค : ป. ความเกี่ยวข้องกันแห่งบท, ความต่อเนื่องกันของคำ
ปทีปิย, (- เปยฺย) : นป. สิ่งที่เนื่องด้วยประทีป, วัสดุสำหรับตามไฟ, ตะเกียงพร้อมทั้งอุปกรณ์
ปทุมี : ค., ป. มีดอกบัว, เนื่องด้วยดอกบัว, เหมือนดอกบัว; ช้างตระกูลหนึ่งมีตัวลาย
ปธานิย : ค. ซึ่งเนื่องด้วยความเพียร, ซึ่งควรประกอบความเพียร
ปพนฺธกปฺปนา : (อิต.) ประพันธกถาศาสตร์ ( นิยายที่แต่งขึ้นต่อเนื่องยืดยาว ) วิ. ปพนฺเธเนว จ สวิตฺถาเรน กปฺปนํ ยสฺสา สา ปพนฺธกปฺปนา.
ปพฺพนิย : ค. ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งหรือตอนหนึ่ง, ซึ่งประกอบด้วย, ซึ่งเนื่องใน, ซึ่งจัดอยู่ใน
ปพฺพาชนิย : ค. ซึ่งเนื่องด้วยการขับไล่, ผู้ควรถูกขับไล่
ปภูติก : ค. ซึ่งเริ่มมาแต่, ซึ่งเนื่องมาแต่
ปราธีน : ค., ป. ซึ่งเนื่องด้วยผู้อื่น, ซึ่งอาศัยผู้อื่น; ผู้อาศัยผู้อื่น