Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เนื้อหาสาระ, เนื้อหา, สาระ , then นอหาสาร, เนื้อหา, เนื้อหาสาระ, สาร, สาระ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เนื้อหาสาระ, 65 found, display 1-50
  1. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  2. นิสฺสาร : ค. ไม่มีแก่น, ไม่มีสาระ
  3. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  4. ทพฺพสหาร : ป. การรวมวัตถุอันเป็นเนื้อหา, การรวบรวมอุปกรณ์อันเป็นเครื่องก่อสร้าง
  5. ธมฺมสาร : (ปุ.) แก่นแห่งธรรม, ธรรมอันเป็นสาระ.
  6. เผคฺคุ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, หาแก่นมิได้, ไร้สาระ. วิ. ผลติ นิปฺผลํ คจฺฉตีติ เผคฺคุ (ถึงซึ่งความมีผลออกแล้ว ไม่มีผล). ผลฺ นิปฺผตฺติยํ, คุ, อสฺเส, ลสฺส โค.
  7. มโนสิลา : (อิต.) น้ำชาด (คุณสมบัติหรือสาระของชาด). ชาดก้อน. ชาดเป็นชื่อของวัตถุสีแดงเป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี.
  8. มหาสาร : (วิ.) มีสาระมาก, มีสาระใหญ่.
  9. ลหุ : ๑. ค. เร็ว, พลัน; เบาะ; ซึ่งได้ปรารถนา; เปล่า, ไม่มีสาระ; ๒. อ. ดีละ
  10. อสารก : ค. อันไม่ประกอบด้วยสาระ, ไม่มีประโยชน์
  11. สารค สารงฺค : (ปุ.) นกกระเต็น, ไก่ป่า. สรฺ หึสายํ, สรณํ สาโร. ณ ปัจ. สารํ คจฺฉตีติ สารํโค สารงฺโค วา. สารปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ.
  12. สารชฺช : (นปุ.) ความครันคร้าม, ความไม่แกล้วกล้า. สารท+ณฺย ปัจ. สกัด วิ. สารทสฺส ภาโย สารชฺชํ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  13. สารที : (อิต.) ดองดึง, พลับพลึง. วิ. สรทกาเล สญฺชาตฺตา สารที. ณี ปัจ.
  14. สารเมยฺย : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. สรมา สุนี, ตสฺส อปจฺจํ สารเมยฺโย. เณยฺย ปัจ.
  15. สารชฺชติ : ก. กำหนด, ยินดี
  16. สารตฺตรตฺต : (วิ.) ทั้งกำหนดหนักแล้วทั้งกำหนัดแล้ว.
  17. สารเมย : ป. สุนัข
  18. ธมฺมานุสาร : (ปุ.) ความระลึกตามซึ่งพระธรรม. ธมฺม+อนุสาร. ความระลึกซึ่งคุณแห่ง พระธรรม ธมฺมคุณ+อนุสาร.
  19. พิมฺสาร : (ปุ.) พิมพิสาร พระเจ้าแผ่นดินของมคธรัฐ ครั้งพุทธกาล.
  20. กฏสาร : ป. เสื่อกก, เสื่อหยาบ, เสื่อลำแพน
  21. คนฺธสาร : (ปุ.) แก่นจันทร์ วิ. คนฺธานํ สาโร อุตฺตโม คนฺธสาโร. คนฺธยุตฺโต สาโร ถิรํโสติ วา คนฺธสาโร.
  22. ฆนสาร : (ปุ.) การบูร วิ. ฆโน หุตฺวา สรตีติ ฆนสาโร.
  23. จนฺทนสาร : ป. แก่นไม้จันทน์
  24. ชาติสสาร : ป. การเวียนว่ายตายเกิด
  25. ตนฺตุสาร : (ปุ.) ต้นหมาก.
  26. ตุสาร : (ปุ. นปุ.) ฤดูหนาว, ฤดูน้ำค้าง. ส. ตุษาร.
  27. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  28. นาสารชฺช : (อิต.) เชือกที่รัดบนจมูกม้ากับ บังเหียน.
  29. นาสารชฺชุ : อิต. เชือกร้อยจมูก
  30. นิสฺสารชฺช : ค. ไม่ถ่อมตัว, ไว้ใจตนเอง
  31. พินฺทุสาร : ป. ชื่อพระราชาแห่งประเทศอินเดียองค์หนึ่งผู้เป็นพระชนกของพระเจ้าอโศกมหาราช
  32. มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
  33. มติสาร : (ปุ.) พระนารายณ์.
  34. มสกฺกสาร : ป. เมืองพระอินทร์
  35. รตฺตาติสาร : ป. โรคลงแดง, โรคบิด
  36. วิปฺปฏิสาร : ป. ความเดือดร้อน, ความร้อนใจ; การระลึกถึงผิด
  37. เวสารชฺช : นป. ความเป็นผู้แกล้วกล้า
  38. สสาร : ป. การท่องเที่ยว, การเวียนว่ายตายเกิด
  39. สารี : ค. ผู้เที่ยวไป, ผู้ระลึก
  40. อนุสาร : (ปุ.) ทำนอง, ท่องแถว, แนว.
  41. อเนกสสารอเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสารอัน...พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่หนึ่ง.
  42. อเนกสสาร อเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสาร อัน... พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่ หนึ่ง.
  43. อวิปฺปฏิสาร : ป. ความไม่วิปฏิสาร, ความไม่เดือดร้อน
  44. อาสาร : (ปุ.) ฝนตกหนัก, ฝนตกซ่าน, ห่าฝน. วิ. เวคโต ชลธารณํ สมฺภุสํ ปตน มาสาโร. ปุนปฺปุนํ วา อาสรตีติ อาสาโร. อาปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, โณ.
  45. อิกฺขรส อิกขุสาร : (ปุ.) น้ำอ้อย
  46. โอฆสสาร : (ปุ.) การท่องเที่ยวไปในห้วงน้ำ คือกิเลส, โอฆสงสาร (การเวียนเกิดเวียน ตายในโลก).
  47. กฏุล : ค. ประกอบด้วยสารเผ็ดร้อน, ปรุงด้วยของเผ็ดร้อน
  48. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  49. กเรณุ : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้างพลาย, ช้างสาร. กร+อิณุปัจ. ส. กเรณุ, กรรณู.
  50. กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
  51. [1-50] | 51-65

(0.0584 sec)