ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
ปภงฺคุณ : (วิ.) เปื่อยเน่า, เปื่อยผุ, ผุพัง, ย่อยยับ. ปปุพฺโพ, ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อุโณ. แปลง ชฺ เป็น คฺ แปลง ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ หรือแปลง ญฺ เป็น งฺ ก็ได้.
ปภงฺคุณ, - คุร : ค. แตกสลาย, ผุพัง, ย่อยยับ, เปื่อยเน่า, เปื่อยเปราะ
ปูติกาย : ป. การเปื่อยเน่า
ปภงฺค, ปภงฺคุ : ค. แตก, หัก, ผุ, พัง, เปราะ, เปื่อย
ปูติ, - ติก : ค. เสีย, เน่า, บูด
อสารท : ค. ไม่มีแก่นสาร, เน่า, คร่ำคร่า
กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
กจฺฉุ : (อิต.) โรคคัน, หิด, หิดเปื่อย, คุดทะราด, หูด, เต่าร้าง, หมามุ่ย. กสฺ หึสายํ, อุ, สสฺส จฺโฉ. ส. กจฉู.
กาสฺมรี กาสฺมารี กาสฺมิรี : (อิต.) ไม้มะรื่น, ไม้มะดูก, ไม้ไข่เน่า, ไม้มะตูม, กะบก. กสฺมีรเทเส ชาตตฺตา กาสฺมารี. กาสฺ ทิตฺติยํ วา, มโร, อิตฺถิยํ อี.
กาสุมรี : อิต. ไม้มะลื่น, ไม้มะดูก, ไม้ไข่เน่า, ไม้มะตูม
กุณปคนฺธ : ป. กลิ่นศพ, กลิ่นซากศพเน่า
คโฬจี : (อิต.) เถาเน่า, เถาหัวด้าน, เขาหัวด้วน, บอระเพ็ด, กระโพงโหม. คฬฺ รกฺขเณ, ครฺ เสจเน วา, โอโจ, อิตฺถิยํ. อี. ถ้าตั้ง ครฺ แปลง รฺ เป็น ฬฺ.
ททฺทุ : (อิต.? ) หิด, หิดเปื่อย. วิ. ทุกฺเวทนํ ททาตีติ ททฺทุ. ททฺ ทาเน, ทุ. แปลว่า หิตด้าน ก็มี. รูปฯ ๖๖๑.
ปุจฺจณฺฑ : นป. ไข่ที่เน่าแล้ว
ปุจฺจณฺฑตา : อิต. ความเน่าของไข่
ปูติมุตฺต : (นปุ.) มูตรเน่า, มูตรโค.
ปูติลตา : (อิต.) เถาเน่า, เครือเถาเน่า, เถาหัวด้วน, ต้นตำแย, บอระเพ็ด, กระพังโหม. วิ. ติตฺตรสตฺตา ปูติภูตา ลตา ปูติลตา. ปุ ปวเน, ติ.
เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
เสนปณฺณิ เสปณฺณี : (อิต.) มะรื่น, มะดูก. วิ. สิริมนฺตานิ ปณฺณานิ ยสฺสา สา เสปณฺณี เสปณฺณี วา. สิริสทฺทสฺส เสอาเทโส. ไม้มะเดื่อ ไม้ไข่เน่า ไม้มะตูม ก็แปล.
เสนาปณฺณิ : ป.ไม้มะลื่น, ไม้มะตูม,ไม้ไข่เน่า
อนฺโตปูติ : (วิ.) เน่าภายใน, เน่าใน.
อปุจฺจณฺฑตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่มีสภาพเหมือนไข่เน่า คือมีสุขภาพปกติ
อาภิโทสิก : ค. เนื่องด้วยเย็นวานนี้, ตอนเย็น, ที่บูดเน่า, ค้างคืน
เอฬค : (นปุ.) หิด, หิตเปื่อย.
กุหณา, - นา : อิต. การหลอกลวง, การโกง, การฉ้อฉล; สิ่งที่เป็นอันตราย
ตสิณา (นา) : อิต. ความกระหาย, ความอยาก
นาคาธิปติ : (ปุ.) นาคาธิบดี ชื่อเทพผู้เป็น อธิบดีแห่งนาคเป็นใหญ่และรักษาทิศ ตะวันตก คือท้าววิรูปักษ์.
นาภินาล : (นปุ.) สายสะดือ. ส. นาภินาล.
นารงฺค : (ปุ.) ตะโก, มะเกลือ, มะแว้ง, มะสัง, หมากหนาม, ต้นส้ม, ผลส้ม. วิ. นารํ วุจฺจติ นีรํ, ตํ คจฺฉตีติ นารงฺโค. ส. นารงฺค
นาลิเกร นาฬิเกร : (ปุ.) มะพร้าว, กัจฯ และ รูปฯ ลง เณร ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง อิร ปัจ. และ ก ท้ายศัพท์ วิ. นาฬิ วิย ชายตีติ นาฬิเกโร. ส. นาริเกร, นาริเกล.
นาวิกวิชฺชา : (อิต.) วิชาเดินเรือ, นาวิกวิทยา. ส. นาวิกวิทฺยา.
นาวิกสตฺถ : (นปุ.) ตำราเดินเรือ, นาวิกศาสตร์. ส. นาวิกศาสฺตฺร.
นาสน : (นปุ.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
นาสนา : (อิต.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
นาสิกา : (อิต.) จมูก. นาสา เอว. นาสิกา. สตฺเถ อิโก. ส. นาสิกา.
นาสิกาโรค : (ปุ.) โรคเกิดในจมูก, ริดสีดวง จมูก, มองคร่อ, หวัด, ไข้หวัด. วิ. นาสิกาย ชาโต โรโค นาสิกาโรโค.
นาสิตก : ค. ผู้ถูกนาสนะ, ถูกขับไล่, ถูกไล่หนี
นาคมาณวก : ป. นาคมาณพ, ชายหนุ่มนาค, นาคหนุ่ม
นาคมาลก : (ปุ.) ไม้กากะทิง, ไม้สารภี.
นาควนิก : ป. พรานผู้ชำนาญป่าช้าง
นาคหต : ป. ผู้ฆ่าช้าง, ผู้ประหารช้าง
นาคาปโลกิต : นป. การเหลียวดูของช้าง (คือกลับทั้งตัว), ลักษณะอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า
นาติกาล : (ปุ.) เวลาเกินหามิได้ (ไม่ผิดเวลา ไม่เกินเวลา).
นาถกรณ : นป. การกระทำที่พึ่ง
นาเทว นรนาถ นรนายก นรป นรปติ นรปาล นรราช นราธิป นรินท : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. ส. นเรนทร, นฤป, นฤปติ.
นาธน : (นปุ.) การขอ, ความเร่าร้อน, ความเป็นใหญ่, ความหวัง. นาธฺ ยาจโนปตาปิ สฺสริยาสึสาสุ, ยุ.