Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เน้นหนัก, เน้น, หนัก , then นน, เน้น, เน้นหนัก, หนก, หนัก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เน้นหนัก, 115 found, display 1-50
  1. ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
  2. คุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนัก, สูง, สูงสุด.
  3. ถูล : (วิ.) เต็ม, ฯลฯ, หนัก, เขลา, โง่, ถูลฺ ปริพฺรูเน, อ.
  4. ปพาฬฺห : ๑. กิต. (อันเขา) ชักออก, ดึงออก, มาแล้ว; ๒. ค. (อาการเจ็บปวดหรือป่วย) แรง, หนัก, เพียบหนัก
  5. อติคาฬฺห : ค. หนาแน่น, หนัก, รุนแรง
  6. ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
  7. ธรณ : (นปุ.) ธรณะ ชื่อมาตรานับ หนัก ๕ อักขะ.
  8. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  9. อุจฺจารมคฺค : (ปุ.) ทางแห่งอุจจาระ, ทวาร หนัก. ส. อุจฺจารมรฺค.
  10. อภิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, จำเพาะ, เฉพาะ, เฉพาะหน้า, เหนือ, หนัก.ส.อภิ.
  11. กมฺมครุ : ค. ผู้หนักในกรรม, ผู้เคร่งในการงาน
  12. กรีสมคฺค : ป. ทวารหนัก
  13. โกธครุ : ค. ผู้หนักในความโกรธ, ผู้มักโกรธ
  14. ขชฺชโภชนาหาร : (ปุ.) อาหารคือของควรเคี้ยว และอาหารคือของควรบริโภค, อาหารว่าง และอาหารหนัก.
  15. ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
  16. ครุกาปตฺติ : (อิต.) อาบัติหนัก, ครุกาบัติ ได้แก่ ปาราชิก ๔ และสังฆาทิเสส ๑๓.
  17. ครุคพฺภา : (อิต.) หญิงมีครรภ์หนัก, หญิงมี ครรภ์แก่ (ท้องแก่ใกล้คลอด). วิ. ครุ คพฺโภ เอติสฺสาติ ครุคพฺภา.
  18. ครุตฺต : นป., ครุตฺตา อิต. ความเป็นครู, ความเป็นผู้ควรเคารพ, ความเป็นผู้หนัก, ความเป็นของหนัก
  19. ครุภณฺฑ : (นปุ.) ของหนัก, ของมีค่ามาก, ของใช้ทน, ครุภัณฑ์.
  20. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  21. คุญฺชา : (อิต.) มะกล่ำ, มะกล่ำตาหนู. คุชฺ สทฺเท, อ, พินฺทวาคโม. คุญฺชา ชื่อมาตรา เงิน หนักเท่ากับเมล็ดมะกล่ำตาหนู. ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ คุญชา. จตฺตาโร วีหโย สมฺปิณฺฑิตา เอกา ว คุญฺชา.
  22. คุท : (นปุ.) ทวารหนัก, วัจมรรค. วิ. คุณาติ ควติ วา กรีส เมเตนาติ คุทํ. คุ กรีสุสฺสคฺเค, โท.
  23. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  24. โฆสปฺปมาณ, - ณิก : ค. ผู้ถือเสียงเป็นประมาณ, ผู้หนักในเสียง, ผู้ติดในเสียง
  25. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  26. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  27. โตลน : (นปุ.) การชั่งน้ำหนัก, การวัดกัน, การเทียบกัน, ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ. ส. โตลน.
  28. ถูลวชฺช : นป. โทษชั่วหยาบ, โทษหนัก
  29. ททฺทภ, - ธภ : ป., นป. เสียงดังทัททะภะ, เสียงดังสนั่น, เสียงดังกึกก้อง, เสียงของหนักหล่นหรือล้ม
  30. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  31. ทุฏฺฐุลฺลาปตฺติ : อิต. อาบัติชั่วหยาบ, อาบัติหนัก
  32. โทสครุ : ค. ผู้มีโทสะหนัก, ผู้มากด้วยโทสะ, ผู้มักโกรธ
  33. ธมฺม : (วิ.) หนักแน่น อุ. ทฬฺหธมฺม แม่นยำ และหนักแน่น
  34. ธมฺมครุ : ค. ผู้เคารพธรรม, ผู้หนักในธรรม
  35. ธมฺมครุ ธมฺมครุก : (วิ.) เคารพซึ่งธรรม, เคารพในธรรม, หนักในธรรม, มีธรรม เป็นที่เคารพ.
  36. ธุร : (วิ.) หนัก, ใกล้.
  37. ธุรวาทหี : (ปุ.) สัตว์ผู้นำไปซึ่งแอก, ฯลฯ, สัตว์ผู้นำไปซึ่งของหนัก, ฯลฯ, โคใช้งาน, วัว, ควาย, ดู ธมฺมจารี ประกอบ. ธุร+วหฺ+ ณี ปัจ.
  38. นหานครุก : ค. หนักในการอาบน้ำ, ชอบอาบน้ำ, นิยมการอาบน้ำ
  39. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  40. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  41. นิพฺพานนินฺน : ค. อันน้อมเข้าสู่นิพพาน, ซึ่งมุ่งต่อพระนิพพาน, อันหนักในพระนิพพาน
  42. นิพฺพิการ : (วิ.) มีวิการออกแล้ว, ไม่มีวิการ, หนักแน่น.
  43. ปญฺจานนฺตริย : นป. อนันตริยกรรมห้า, กรรมหนักห้าประการ (ฆ่ามารดา, ฆ่าบิดา, ฆ่าพระอรหันต์, ทำพระโลหิตของพระพุทธเจ้าให้ห้อ, ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน)
  44. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  45. ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  46. ปริตุเลติ : ก. พิจารณา, ตีราคา, ชั่งน้ำหนัก
  47. ปล : นป. ชื่อมาตราน้ำหนัก ประมาณ ๔ ออนส์
  48. ปสต : ๑. ป. ฟายมือ, ซองมือ, กำมือ, ๑/๒ ของเซีย (เครื่องตวงชนิดหนึ่งในอินเดียน้ำหนักเกือบกิโล); ๒. ค. ซึ่งเป็นจุดๆ
  49. ปายุ : ป. ทวารหนัก
  50. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-115

(0.0678 sec)