เปสิ : (ปุ.?) ไข่, ถั่วฝักยาว, ก้อนข้าว. เปสิ ชื่อปีศาจตนหนึ่ง ชื่อแม่น้ำสายหนึ่ง.
เปมก : ป., นป. ความรัก
เปมนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความปลื้ม, ฯลฯ, ชวนให้ปลื้ม ฯลฯ. เปม+อนีย ปัจ.
เปยูส : (นปุ.) สุธาโภชน์. ดู ปียูส.
เปสก : ป. ผู้ส่งไป
เปสน : (นปุ.) การส่งไป, การใช้ไป, การบังคับ, การพุ่ง, การใช้สอย. ปิสฺเปสเน, เปสฺ คติยํ วา, อ, ยุ.
เปสนีย : (วิ.) อันบุคคลพึงส่งไป. ปิสฺ เปสเน, อนีโย.
เปสิต : กิต. ส่งไปแล้ว
เปสิ, - สิกา : อิต. ชิ้นเล็กๆ
เปสุณ : นป. คำส่อเสียด
เปสุณการก : ค. ผู้ทำการส่อเสียด
เปสุณิก : ค. ผู้ส่อเสียด
เปสุเณยฺย : (วิ.) อันเกื้อกูลแก่วาจาส่อเสียด, ส่อเสียด.
เปเสติ : ก. ส่งไป
ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ถิน : (วิ.) หย่อน, ย่อหย่อน, เบา, หลวม, เหลว (ไม่ได้เรื่อง), คร้านจิต (จิตท้อถอยไม่ อยากทำอะไร). สถฺ เสถิลฺเล, อิโน, ลบ ต้นธาตุ.
สิฐล สิถิล : (วิ.) หย่อน, เบา, อ่อน, หลวม. สถฺ เสถิลฺเล, อิโล, อสฺสิ. ศัพท์ต้นแปลง ฤ เป็น ฐฺ.
สิถิล : ค. หย่อน, เบา
ชมฺพุ (พู) เปสี : ป. เปลือกผลหว้า
ทณฺฑเวฬุเปสิกา : อิต. ไม้เรียวทำด้วยไม้ไผ่สำหรับลงโทษ, ไม้พลองทำด้วยไม้ไผ่
ปฏิเปเสติ : ก. ส่งกลับ, ส่งคืน, ส่งไปหา
อนุเปเสติ : ก. ส่งไป, ส่งไปหา
นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
นิกฺกรีส : (วิ.) มีกากออกแล้ว, เบา.
เปลว : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง. วิ. ปิโย ลโว ยสฺมึ ตํ เปลวํ. ปิยสฺส เป. เปลิ คมเน วา อโว, ปิลฺ วตฺตเน วา.
เปฬา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง (ภาชนะใส่ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายถังเตี้ยๆ มีฝาปิด), หีบ, ช้อง (เครื่องจักสาน รูปคล้ายหม้อดิน ก้นสี่เหลี่ยมจตุรัสสำหรับใส่ปลา),ตะกร้า, เขียง (ไม้สำหรับการสับการหั่น). เปฬฺ คติยํ, อ. เป ปาลเน วา, โล, ฬตฺตํ. ปาฬฺ รกฺขเณ วา, อ, อาสุเส. ปี ตปฺปเน วา, โฬ, อีสฺเส.
กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
กากลี : (อิต.) เสียงเล็ก, เสียงเบา, เสียงเล็ก ที่สุด, เสียงเบาที่สุด. วี. อีสํ กลา วาณี กากลี. กา + กลา + อี ปัจ. วิ. ใช้ อีส แทน กา กา ศัพท์ มี สุขุม เป็น อรรถ.
กายลหุตา : (อิต.) ความเบาแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด เพื่อให้ศัพท์คุณเป็นนามนาม.
กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
โกลผล : (นปุ.) กระเบา (หมายเอาผล), ผลกระเบา.
โกลมตฺตี : ค. มีขนาดเท่าผลกระเบา, มีขนาดเท่าผลพุทรา
โกลิ : (ปุ.) มะดูก, หมากดูก, หมากเบา.
จณฺฑ จณฺฑาล : (วิ.) หยาบช้า, เกรี้ยวกราด, ร้ายกาจ, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ขึ้งเคียด, ขึ้ง เคียดนัก, จัด, ฉุนเฉียว, โหด, เหี้ยม, โหดเหี้ยม, จฑิ จณฺฑนโกเปสุ. ศัพท์แรก อ ปัจ. กัจฯ และรูปฯ ลง ก ปัจ. ลบ ก ศัพท์หลังลง อล ปัจ.
จิตฺตลหุตา : อิต. ความเบาแห่งจิต
เจตก : (ปุ.) สัตว์อันเขาส่งไป. สัตว์สำหรับต่อ ( สัตว์พวกเดียวกัน), สัตว์ต่อ, จิฎฺ เจฏฺ วา เปสเน, จิต เปสนีเย วา, โณ, สตฺเถ โก. หรือลง ณฺวุ ปัจ. ถ้าลง ณฺวุ ก็ไม่ต้องลง ก สกัด.
ทารี : (ปุ.) สามี, ภัสดา, ภรรดา, ภารดา, ผัว (ผู้ทำลายหรือแบ่งเบาความทุกข์ของภรรยา).
ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
ทุกฺกฏ : นป. การกระทำผิด, ความชั่ว, ชื่ออาบัติเบาชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่าอาบัติทุกกฎ
ทูต : (ปุ.) บุคคลผู้อัน..ส่งไป, คนนำข่าว, ทูต (ผู้นำข่าวสารไปบอก ผู้นำข้อความไป แจ้งทั้งสองฝ่าย ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน). วิ. โย เปสียเต โส ทูโด. ทุ คมเน, โต, ทีโฆ. ส. ทูต.
ธูม : (ปุ.) ความโกรธ, ควัน, ควันไฟ, ความตรึก, กามคุณ ๕, ธรรมเทศนา. ธูปฺ กมฺปนสนฺตาเปสุ, โม. กัจฯ และรูปฯ ลง มนฺ ปัจ. ลบ นฺ. ส. ธูม.
นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
นิกร : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, หมวด, คณะ. วิ. อวยวํ สมีเป กโรตีติ นิกโร. ส. นิกร.
นิช : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. โส เอว นิโช. แปลง ย เป็น ช สมีเป ชายตีติ วา นิโช. อภิฯ. ผู้เกิดแต่ตน (ลูก). รูปฯ ส. นิช.
ปมทา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง, นาง. วิ. วิรูเปสุปี มโท ราคมโท ยสฺสา สา ปมทา. ปกฏฺโฐ วา มโท รูปโสภคฺคชนิโต เจโตวิ กาโร ยสฺสา สา ปมทา. เป็น ปมุทา บ้าง.
ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
เปสฺส : (ปุ.) บุคคลอันบุคคลส่งไป, คนรับใช้, ทาส, บ่าว. วิ. เปสียเตติ เปสฺโส. ปิสฺ เปสนีเย, โณ, สสฺส ทฺวิตฺตํ.
พทรี : อิต. ต้นพุทรา, กะเบา
มธุมุตฺต : (นปุ.) เบาหวาน ชื่อโรคชนิดหนึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าปกติ.
มธุเมห : (ปุ.) เบาหวาน, โรคเบาหวาน.