กฏกฏายติ : ก. กด, บด, บีบ, ลับ; ประพฤติเสียงดังกฏะกฏะ
โกฏเฏติ : ก. ทุบ, ฟาด, บด, ขยี้, โขลก, ตำ, ตี
ฆสติ : ก. ขัด, สี, ถู, บด; ยินดี, ชอบใจ, ร่าเริง
นิปฺโผเฏติ : ก. ตี, โบย, ทุบ, ต่อย, บด, ขยี้, ทำลาย
นิมฺมาเทติ : ก. ขยี้, กด, บีบ, บด; ลบหลู่; เอาออก
ปุณฺฑติ : ก. ถู, ขูด, ขัด, บด
สญฺจุณฺเณติ : ก.ขยี้, ทำลาย, บด
อุคฺฆเสติ : ก. ถู, บด, ขัด, สี
โอปาเฏติ : ก. แก้, เปิด, ฉีกออก, เจาะ, เฉือน
อปาปุรติ, อปาปุณติ : ก. เปิด (ประตู)
อปารุต : ค. เปิด (ประตู) , ซึ่งถูกเปิดแล้ว
โกส : (วิ.) แย้ม, ตูม, แง้ม (เปิดน้อยๆ).
ฆสน : นป. การขัด, การสี, การถู, การบด
จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
จุณฺณิต : กิต. (อันเขา) บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียดแล้ว
จุณฺเณติ : ก. บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียด
เจโตวิวรณ : นป. การเปิดเผยซึ่งจิต, การปล่อยใจ
ทนฺตวิทสก : ค. ซึ่งเปิดเผยฟัน, (การหัวเราะ) จนเห็นฟัน
ทฺวารปิทหน : นป. การเปิดประตู
ทิฏฺฐาวิกมฺม : นป. การทำความเห็นให้แจ้ง, การเปิดเผย, สารภาพ
นขลิขิต : (นปุ.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, การเขียนทำเหมือนรูปเล็บ, นขลิขิต. ไทยใช้ นขลิต เป็นชื่อของเครื่อง หมายรูปดังนี้ ( ) เรียกว่าวงเล็บเปิด วงเล็บปิด.
นิปฺโปฐน : นป. การตี, การโบย, การบด, การกด, การขยี้, การทำลาย
นิวารณ : (นปุ.) การปิด, การปิดบัง, การเปิด บังให้พ้นภัย, การเกียดกัน, การป้องกัน, การป้องกันให้พ้นภัย, การพิทักษ์รักษา, ความปิด. ฯลฯ. นิปุพฺโพ, วรฺ อา วรเณ, ยุ. ส. นิวารณ การขัดขวาง, การต่อต้าน.
นิวาริต : ๑. ค. อันเขาห้ามแล้ว;
๒. ค. ซึ่งไม่ถูกห้าม, ซึ่งไม่ถูกกั้น, ซึ่งไม่ถูกเปิด, อันเขาเปิด
นิสท : ป. หินบด, หินลับมีด
นิสทโปต, -ก : ป. ลูกหินบด
ปฏิจฺฉนฺนกมฺมนฺต : ค. ผู้มีการงานอันปิดบัง, ผู้มีการกระทำอันไม่เปิดเผย, ผู้ทำงานเร้นลับ, ผู้ปกปิดการกระทำ
ปวารณา : อิต. การเปิดโอกาสให้ตักเตือนกันในคราวออกพรรษาของสงฆ์; การอนุญาตให้ขอสิ่งของได้, การเปิดโอกาส
ปิส : ค. บดแล้ว, สีแล้ว, ขยำแล้ว
ปิสติ, (ปึสติ) : ก. บด, ขยำ, คั้น
ปิสน, (ปึสน) : นป. การบด, การขยำ, การทำลาย
ปิสิต : ๑. นป. เนื้อ ;
๒. ค. อันเขาบด, อันเขาขยำ, อันเขาทำลายแล้ว
ปึสติ : ก. บด, สี, ขยำ
ปุฏเภท : ป., ปุฏเภทน นป. การแตกต่างแห่งถุงหรือห่อ, การเปิดถุงหรือห่อ
เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
โปถน : (นปุ.) อันโปย, อันตี, อันทุบ, อันบด, อันขยี้, การโบย, ฯลฯ. โปถฺ ปริยา-ปนภาเว, ยุ.
ผาลิต : ค. ซึ่งเปิดออก, ซึ่งแตกออก, ซึ่งขยายออก,ซึ่งยืดออก
ผาลิม : ค. ซึ่งเผยออก, ซึ่งผลิออก, ซึ่งแยกออก, ซึ่งเปิดออก, ซึ่งบาน
ผุฏ ผุฏน : (นปุ.) อันบาน, อันเปิดออก, อันปรากฏ, อันแจ่มแจ้ง, การบาน, ฯลฯ, ความบาน, ฯลฯ. ผุฏฺ วิกสเน, อ, ยุ. อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย. ผุฏฺ วิเภเท, อ, ยุ.
มทฺทน : (นปุ.) การนวด, การย่ำยี, การบด, การทำลาย. ยุ ปัจ.
มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
รหาภาว : ป. ความเปิดเผย, ความไม่ลับ
วิฆาฏน : นป. การแตกหัก, การเปิด
วิจุณฺเณติ : ก. บดให้ละเอียด, ทำลาย
วิวฏ : กิต. เปิดแล้ว
วิวรณ : นป. การเปิด, การไขความ, การเผยแผ่
วิวรติ : ก. เปิด, ไขความ
สงฺขาทติ : ก. เคี้ยว, บดอาหาร
สณฺเหติ : ก. บด, ลับ, ขัด