โทล : (วิ.) บีบคั้น, เบียดเบียน, ทำลาย, ทุ ปีฬเน, โล.
นิปฺปีเฬติ : ก. บีบคั้น, กดขี่, เบียดเบียน
ปฏิปีเฬติ : ก. บีบคั้น, กดขี่, เบียดเบียน
ปฏิหนติ : ก. กระทบ, กีดกั้น, กำจัด, ทำลาย, เบียดเบียน
ปสหติ : ก. ใช้กำลังรุกราน, ข่มเหง, เบียดเบียน
พฺยาปาเธติ : ก. ทำร้าย, เบียดเบียน
วฺยาพาเธติ : ก. ทำร้าย, เบียดเบียน
วิเหเฐติ : ก. รบกวน, เบียดเบียน
หนน : (วิ.) กำจัด, เบียดเบียน, ฆ่า, ตี, ประหาร, กระทบ.
อธิพาเธติ : ก. รบกวน, กดขี่, เบียดเบียน, แทง
อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
อภิตาเฬติ : ก. ทุบ, ตี, เบียดเบียน
อภินิปฺปีเฬติ : ก. บีบคั้น, เบียดเบียน, กดขี่
อาฆาฏอาฆาต : (วิ.) โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, จำนงภัย, ปองร้าย, จองเวร, เบียดเบียน, พยาบาท
อาพาเธติ : ก. กดขี่, ข่มเหง, เบียดเบียน, รังแก
อาหนติ : ก. ฆ่า, เบียดเบียน, ตี, จด, ถึง, ไปถึง
อุปฏฏต : กิต. เจ็บปวด, ทรมาน, เบียดเบียน
อุปทาห : (วิ.) แผดเผา, เบียดเบียน, ประหาร.
อุปฺปีเฬติ : ก. กดขี่, เบียดเบียน
ฆฏน : (วิ.) หมั่น, ขยัน, รวมกัน, ติดต่อกัน, สืบต่อ, เบียดเบียน.
ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
ปริฆาต : (วิ.) ฆ่า, ประหาร, กำจัด, เบียดเบียน.
วิหึสติ : ก. เบียดเบียน
หีสติ : ก. เบียดเบียน
อุปตาป : (วิ.) แผดเผา, ให้เร่าร้อน, เบียดเบียน.
องฺฆาต : (วิ.) โกรธ, ขึ้งเครียด, กระทบ.เบียดเบียน.อาฆาต ศัพท์ แปลง อา เป็นนิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ.
กายสมฺปีฬน : นป. การเบียดเบียนกาย, การบังคับร่างกาย
กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
ฆจฺจ : (ปุ.?) การฆ่า, การทำลาย, การเบียดเบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, โณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลงตฺย เป็น จฺจ.
ฆฏนา : (อิต.) ความหมั่น, ความขยัน. มฏฺวายามกรเณ. การรวมกัน, การติดต่อกัน, การเชื่อม. ฆฏฺ สงฺฆาเต. การตี, การเบียดเบียน, การฆ่า, การประหาร ฆฏฺ หนเน, ยุ ปัจ.
ฆาฏ : (ปุ.) การฆ่า, การฆ่าฟัน, การตี, การประหาร, การทำลาย, การกำจัด, การเบียดเบียน. ฆฏฺ หึสายํ, โณ. การรวมกัน, การติดต่อกัน, ต้นคอ, ท้ายทอย. ฆฏฺ สํฆาเต, โณ.
ฆาตุก : (วิ.) มีปกติเบียดเบียน, มีปกติคิดร้าย วิ. หนนสีโล หึสนสึโล ฆาตุโก. อุโก ณุโก วา.
จิตฺตปีฬา : (อิต.) ความเบียดเบียนจิต, ความบีบคั้นจิต, การสลบ, ความสลบ.
จิตฺตสมฺปีฬน : ค. ซึ่งบีบคั้นจิต, ซึ่งเบียดเบียนจิต
ฌส : (ปุ.) สัตว์อันเขาเบียดเบียน, ปลา. ฌสฺ หึสายํ, อ. ส. ฌษ.
ตชฺชฉ : (นปุ.) การเบียดเบียน, การข่มขู่, การคุกคาม ตชฺชฺ หึสาสนฺตชฺชเนสุ, ยุ.
ตณฺหงฺกร : (วิ.) ผู้เบียดเบียนตัณหา, ผู้กำจัด ตัณหา. วิ. ตณฺหํ กิโณตีติ ตณฺหงฺกโร. ตณฺหาปุพฺโพ, กิ หึสายํ, อ. แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ร รัสสะ อา ที่หาเป็น อ ลง นุ อาคมแปลงเป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ รูปฯ ๕๕0 กัจฯ ๕๒๕ วิ. ตณฺหํ กโรตีติ ตณฺหงฺกโร กรฺ หึสายํ.
โตทน : (นปุ.) การเบียดเบียน, การรบกวน, การทิ่มแทง, ความเบียดเบียน, ฯลฯ, ความเจ็บ, ปฏัก.ตุทฺ พฺยถเน, ยุ. ส.โตทน.
ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
ทาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความเผา, ความไหม้, ความแผดเผา, ความเบียดเบียน. ทหฺ ภสฺมีกรเณ, โณ. ส. ทาห.
เทผ : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, คำกล่าว, การรบ, การนินทา, คำนินทา, คำติเตียน, การเบียดเบียน, การถือเอา. ทิผฺ กถนยุทฺธ- นินฺทาหึสาทาเนสุ, โณ.
นกฺขตฺตปีฬน : นป. การเบียดเบียนแห่งนักษัตร, ชะตาตก, สิ้นชะตา
นิปฺปีฬน : นป. การบีบคั้น, การกดขี่, การเบียดเบียน
นิรคฺคล : ค. ซึ่งไม่ขัดขวาง, ซึ่งไม่เบียดเบียน, อันปราศจากลิ่มหรือกลอน
นิรุปฆาต : ค. ซึ่งไม่มีอาฆาต, อันไม่เบียดเบียน, อันไม่ทำร้าย
ปฏิปีฬน : นป. การบีบคั้น, การกดขี่, การเบียดเบียน
ปฏิหนนก : ค. ผู้กระทบกระทั่ง, ผู้กำจัด, ผู้เบียดเบียน
ปรหึสา : อิต. การเบียดเบียนผู้อื่น
ปริปนฺถ : (ปุ.) อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ, อันตรายในทางเปลี่ยว, ทางเปลี่ยว, หนทางเปลี่ยว, อันตราย อุ. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ปริปุพฺโพ, ปถิ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
ปริปาเฬติ : ก. เบียดเบียน, บีบคั้น