กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
ชชฺชริ : (ปุ.?) ผักปลัง, ผักเบี้ย.
ตล : (นปุ.) ชั้น, ชั้นล่าง,พื้น, ฝ่ามือ. วิ. ตลยติ เอตฺถ วตฺถุชาตนฺติ ตลํ. ตลฺ ปติฏฐายํ, อ.
ผณ : (นปุ.) แง่ง, แผ่น, แม่เบี้ย, พังพาน. ผณฺ คติยํ, อ.
ผณี : (ปุ.) สัตว์มีแม่เบี้ย, งู.
สปฺปผณ : (นปุ.) แม่เบี้ยแห่งงู, แม่เบี้ยงู.
เหฏฺฐโต : ก.วิ. จากข้างล่าง, จากภายใต้
อธร : (วิ.) ข้างล่าง, เบื้องต่ำ, น่าชังฯลฯ.ดูอธมประกอบ.รหรืออรปัจ.
อธรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างล่าง, เบื้องล่าง, เบื้องต่ำ.
อธรา : (อิต.) ทิศเบื้องล่าง, ทิศเบื้องต่ำ.
อโธ : (อัพ. นิบาต) เบื้องต่ำ, ข้างล่าง, เบื้องล่าง, เป็นเหฎฐาตถวาจกนิบาต.รูปฯว่าลงในอรรถสัตมีแปลว่าในเบื้องต่ำ, ฯลฯ.อโธเมื่อใช้เกี่ยวกับอักขระแปลว่าเอาพญัชนะไว้หน้าสระ.
อโธมุขีกรณ : (นปุ.) การทำให้มีหน้าข้างล่าง, การคว่ำ, การคว่ำลง.
อปาจีน : ค. ทางทิศตะวันตก, ข้างใต้, ข้างล่าง
อว : ก., วิ. ต่ำ, ลง, ข้างล่าง
อามาย : ค. ผู้เกิดในบ้าน, ผู้เกิดภายใน, ทาสในเรือนเบี้ย
อุทฺธ : ค. เบื้องบน, เลย, เกิน, นอกเหนือไป, ข้างล่าง, (เวลา) หลัง, ต่อไป, ในอนาคต
นิมิตฺตกมฺม : นป. การทำนายล่วงหน้า, ลาง
อุปฺปาต : ป. การบินขึ้น; อุกกาบาต; เหตุการณ์อันผิดปกติ, ลาง
กนฺทล : ป., นป. ชื่อของต้นไม้อย่างหนึ่งมีดอกขาว; วัด; ลางร้าย
ทุนฺนิมิตฺต : (นปุ.) เครื่องหมายชั่ว, เครื่องหมายอันชั่วร้าย, ลางร้าย, นิมิตร้าย.
ปุพฺพนิมิตฺต : (นปุ.) ลางที่เกิดก่อน, ลางที่บอกเหตุขึ้นก่อน, นิมิตที่เกิดก่อน, บุพนิมิต.
มชฺฌิมาปฏิปทา : (อิต.) การปฏิบัติอันมีในท่ามกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง, มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลางคือมรรค (อริยมรรค) มีองค์ ๘.
อปมงฺคล : (วิ.) มีมงคลไปปราศแล้ว, ปราศจากมงคล, ไม่มีมงคล, ไม่เป็นมงคล, อัป-มงคล (เป็นลางร้าย ไม่เจริญ ไม่เจริญตา).ส.อปมงฺคล
อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
อุเปกฺขก : ค. ผู้เข้าไปเพ่ง, ผู้มีความวางเฉย, ผู้มีใจเป็นกลาง
อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.