Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เบื้อง , then บอง, เบื้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เบื้อง, 168 found, display 1-50
  1. โอโลกน : (นปุ.) การแลดู, ความแลดู (เบื้อง บน), หน้าต่าง. อุปุพฺโพ, โลกฺ ทสฺสเน, ยุ.
  2. กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
  3. กปลฺลปูว : (ปุ.) ขนมอันบุคคลให้สุกแล้วบนกระเบื้อง, ขนมเบื้อง
  4. กรุณาปร : ค. ผู้มีความกรุณาสูง, ผู้มีความกรุณาเป็นเบื้องหน้า
  5. กสิณปริกมฺม : นป. กิจเบื้องต้นคือการเตรียมหาวัตถุก่อนที่จะลงมือเพ่งกัมมัฏฐาน
  6. กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
  7. กุณฺฑกงฺคารปูว : ป., นป. ขนมเบื้องที่ทำด้วยรำข้าว
  8. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  9. ฆรกูฏ : (นปุ.) ช่อฟ้า ชื่อตัวไม้ที่ติดอยู่เบื้อง บนของหน้าบัน รูปร่างเหมือนหัวนาค ชู ขึ้นเบื้องบน.
  10. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  11. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  12. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  13. ชานิปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชานิปติ. ชายาศัพท์ เมื่อมี ปติ อยู่เบื้อง ปลาย แปลงชายาเป็น ชานิ. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓. เป็น ชานิปตี โดยเป็น อ. มวัน. บ้าง.
  14. ชาลปูว : ป. ขนมร่างแห, ขนมตาข่าย, ขนมเบื้อง
  15. โชติปรายน : ค. มีความสว่างหรือรุ่งเรืองเป็นเบื้องหน้า, มีอนาคตแจ่มใส, มีอนาคตรุ่งโรจน์
  16. ตโตปร : อ. เบื้องหน้าแต่นั้น, ตั้งแต่นั้นมา
  17. ตมปรายน : ค. มีความมืดเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีความมืดต่อไปคือไปสู่ทุคติ
  18. ตโมตมปรายน : (วิ.) ผู้มีมืดมาแล้ว มีมืดเป็น ที่ไปในเบื้องหน้า, ผู้มืดมาแล้วมืดไป.
  19. ติริย : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขว้าง, โดยกว้าง, โดยเบื้องขวาง, ใน เบื้องขวาง. รูปฯนามกัณฑ์ว่าเป็น สัตตมิยัตถนิบาต.
  20. ติโร : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขวาง, ในเบื้องขวาง, ในภายนอก. รูปฯ นามกัณฑ์ว่าลงในอรรถสัตมี.
  21. ทกฺขิณโต : (อัพ. นิบาต) เบื้องขวา, ข้างขวา, โดยเบื้องขวา, โดยข้างขวา.
  22. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  23. ทณฺฑปรายน : ค. ผู้มีไม้เท้าเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, ผู้อาศัยไม้เท้าสำหรับยัน, ผู้ใช้ไม้เท้า
  24. ทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ทมฺปติ. เพราะปติ อยู่เบื้องปลาย แปลงชายา เป็น ทํ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ทํอาเทโส. นามมาลา ๓๗. ส. ทมฺปติ.
  25. ทุกฺขปเรต : (วิ.) มีทุกข์ถึงแล้วในเบื้องหน้า, อันทุกข์ถึงรอบแล้ว, อันทุกข์ครอบงำแล้ว.
  26. ทุคฺคติปรายน : (วิ.) ผู้มีทุคคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
  27. นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
  28. ปณิปตติ : ก. ฟุบลงเบื้องหน้า, หมอบลงข้างหน้า
  29. ปถม : (วิ.) ก่อน, แรก, เบื้องต้น, ครั้งแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, ต้น, เบื้องต้น, เป็นประธาน. ดู ปฐม ด้วย.
  30. ปทกฺขิณคฺคาหิตา : อิต. ความเป็นผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ความรับเอาโดยความเคารพ, ความฉลาด, ความชำนาญ
  31. ปทกฺขิณคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ผู้รับเอาด้วยความเคารพ, ผู้เรียนรู้ได้รวดเร็ว
  32. ปทกฺขิณา : อิต. ประทักษิณ, การเวียนขวา, การเดินเวียนรอบโดยหันเบื้องขวาเข้าหาปูชนียบุคคลหรือปูชนียวัตถุเพื่อเป็นการแสดงความเคารพ
  33. ปเทสการี : ค. ผู้ทำสำเร็จเพียงบางส่วนคือ ผู้ได้สำเร็จอริยผล ๓ เบื้องต้นและอรหัตตมรรค
  34. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  35. ปร : อ. เบื้องหน้า, ถัดไป, ต่อจาก, พ้นไป, ในฝ่ายอื่น
  36. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  37. ปรปุริส : (ปุ.) บุรุษอื่น, บุรุษอื่นๆ, บุรุษ เบื้องหลัง.
  38. ปรมฺมรณ : (นปุ.) เบื้องหน้าแต่ความตาย, เบื้องหน้าแต่ตาย.
  39. ปรมฺมรณา : อ. เบื้องหน้าแต่ตาย, หลังจากตาย
  40. ปรวาที : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีวาทะอื่น, อาจารย์ผู้ มีวาทะแก่อาจารย์ผู้อยู่ในเบื้องหน้า, พระ ปรวาที พระปรวาทีอาจารย์ ( อาจารย์ ผู้ ตอบ อาจารย์ผู้ค้าน ).
  41. ปราภว : (ปุ.) ความเป็นไปในเบื้องหน้า. ปร + อาภว.
  42. ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
  43. ปรายน : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆเป็นใหญ่ (ตปฺปธาน), ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นเบื้องหน้า (ตปฺปร), ผู้ไป ในเบื้องหน้า, ผู้มีความเพียร ( ปร+อายน ).
  44. ปเรต : ค. ไปแล้วในเบื้องหน้า, ตายแล้ว, เดือดร้อน
  45. ปโร : อ. ข้างบน, ข้างหลัง, ไปเบื้องหน้า ; มากกว่า
  46. ปารายน : นป. การมีคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, จุดมุ่งหมายอันสูงสุด
  47. ปุพฺพกฺขร : (ปุ. นปุ.) อักษรแรก, อักษรเบื้องต้น, ฯลฯ.
  48. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  49. ปุพฺพกิจฺจ : (นปุ.) กิจที่จะต้อง ทำก่อน,กิจเบื้องต้น,บุพกิจ คือกิจที่ทำหลังบุพกรณ์.
  50. ปุพฺพณฺห : (นปุ.) เบื้องต้นแห่งวัน, เวลาอันเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, เวลาเช้า. อหสฺส ปพฺพํ ปุพฺพณฺหํ. อหสฺส อณฺหภาโว (แปลง อห เป็น อณฺห).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-168

(0.0303 sec)