อากุล, อากุลก : ค. อากูล, เปรอะเปื้อน, ขุ่น, เกลื่อนกล่น, ยุ่ง
อุปกิเลส อุปกฺกิเลส : (วิ.) เศร้าหมอง, หม่น หมอง, เปรอะเปื้อน.
อุปกฺกิลิฏฐ : ค. เปรอะเปื้อน, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
อโธต : (วิ.) เปื้อน. อโธเตหิปาเทหิกฐินํอกฺกมนฺติ.ภิกษุท.มีเท้าเปื้อนเหยีบไม้สดึง
กปฺปฏ : (ปุ.) ผ้าอันบัณฑิตเกลียด, ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. วิ. กุจฺฉิโต ปโฏ กปฺปโฏ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กา รัสสะ ซ้อน ปฺ หรือ ตั้ง กปฺปฺ ธาติในความตรึก อฏปัจ.
กมฺมส : ป. โทษ, ความด่างพร้อย, รอยเปื้อน
กลลมกฺขิต : ค. ซึ่งทาด้วยโคลนหรือตม, เปื้อนแล้วด้วยเปือกตม
กิต : กิต. ประดับแล้ว, ตกแต่งแล้ว, เปื้อนแล้ว
เขฬกิลินฺน : ค. อันเปื้อนด้วยน้ำลาย
นตฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ+อนฺต ลบ ตฺถิ แปลง นฺ เป็น ตฺ ก สกัด ดู นนฺตกด้วย.
นนฺตก : นป. ชิ้นเล็กชิ้นน้อย, เศษ, ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าเปื้อน
นมฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน. ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ อนฺโตทสา ยสฺส ตํ นนฺตกํ. ก สกัด.
มกฺขน : (นปุ.) การทา, การทำให้เปื้อน, ยุ ปัจ.
อนุปลิตฺต : ค. ไม่ถูกกิเลสแปดเปื้อน
อมกฺข : ค. ๑. ผู้ไม่ลบหลู่คุณท่าน ;
๒. ผู้ไม่ทำให้เปื้อน
อุกฺการภูมิ : อิต. พื้นที่เปื้อนคูถ, กองคูถ
อุทรตฺตาณ : นป. ผ้ากันเปื้อน, ผ้าคาดเอว
อุปลิตฺต : กิต. ฉาบแล้ว, ทาแล้ว, ทำให้เปื้อนแล้ว
อุปลิปฺปติ : ก. อันเขาฉาบทา, อันเขาทำให้เปื้อน
อุปลิมฺปติ : ก. ฉาบ, ทา, ทำให้เปื้อน
อุสฺสุต : ค. อันทำให้แปดเปื้อน, อันเต็มไปด้วยราคะ
อูหญฺญติ : ก. อันเขารบกวน; อันเขาทำให้เปื้อน
อูหต : กิต. ยกขึ้นแล้ว, ถอนแล้ว, ทำลายแล้ว; รบกวนแล้ว, ทำให้เปื้อนแล้ว
อูหนติ : ก. รบกวน, ทำให้เปื้อน; ถ่ายออก, ดึงออก
ผรุส : (วิ.) ขรุขระ, หยาบ, หยาบคาย, อย่างหยาบ, ปอน, เศร้าหมอง.
สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.