Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เปรียบเปรย, เปรียบ, เปรย , then ปรย, ปรยบ, เปรย, เปรียบ, เปรียบเปรย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เปรียบเปรย, 51 found, display 1-50
  1. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  2. กาโกปมา : อิต. เปรียบเหมือนกา, คล้ายกา, มีกาเป็นตัวอย่าง
  3. กิตฺติม : (วิ.) ปลอม, แกล้งทำ (ของ...). กิตฺตฺ ธาตุในความเปรียบเทียบ อิม ปัจ.
  4. เกลาสกูฏปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบด้วยยอด แห่งภูเขาชื่อว่าไกลาส มี วิ. ดังนี้. สัมภาวนปุพฺ กัมฺ เกลาโส อิติ ปพฺพโต เกลาสปพฺพโต. ฉ. ตัป. เกลาสปพฺพตสฺส กุโฏ เกลาสกูโฏ. ฉ. ภินน. พหุพ. เกลาสกูเฏน ปฏิภาโค เยน โส เกลาสกูฏปฏิภาโค (วรวารโณ).
  5. เขตฺตูปม : ค. ซึ่งอุปมาด้วยนาหรือสวน, เปรียบกับนาหรือสวน
  6. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  7. ชยติ : ก. ชนะ, มีชัย, ได้เปรียบ
  8. ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
  9. ตุลิต : กิต. ชั่งแล้ว, ตวงแล้ว, เปรียบเทียบแล้ว, พิจารณาแล้ว
  10. ตุเลติ : ก. ช่าง, ตวง, วัด, เปรียบเทียบ, พิจารณา
  11. ทิฏฺฐสสนฺทน : ป. การเปรียบเทียบทิฐิด้วยสิ่งที่ตนเห็น, การเปรียบเทียบความคิดเห็น, การสนทนากันเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น
  12. ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
  13. นครูปม : ค. อันเปรียบด้วยนคร, อุปมาเหมือนนคร
  14. นิรุปม : ค. ปราศจากสิ่งเปรียบเทียบ, หาสิ่งเปรียบเทียบไม่ได้
  15. ปฏินิธิ : ป. รูปเปรียบ, รูปเทียม
  16. ปฏิปุคฺคล : ป. บุคคลที่เปรียบเทียบ, คนทัดเทียม, คู่แข่ง
  17. ปฏิปุคฺคลิก : ค. มีคนทัดเทียม, มีคนเปรียบเทียบ, อันเป็นของแห่งคู่แข่ง
  18. ปฏิพิมฺพ : นป. รูปเปรียบ, รูปเหมือน, ภาพ, เงา
  19. ปฏิภาค : ค., ป. มีส่วนเปรียบได้, ซึ่งเปรียบเทียบกันได้, ซึ่งคล้ายคลึง, เท่ากัน; คนทัดเทียม, ศัตรู, ความเหมือนกัน; ความคล้ายคลึงกัน; คำตอบ
  20. ปฏิมา : อิต. ปฏิมา, รูปเปรียบ, รูปจำลอง, รูป
  21. ปฐวีสม : ค. เสมอด้วยแผ่นดิน, ซึ่งเปรียบเหมือนแผ่นดิน
  22. เผณูปม : ค. ซึ่งเปรียบด้วยฟองน้ำ, ซึ่งเหมือนฟองน้ำ
  23. พิมฺพ : (ปุ.) รูป, รูปเปรียบ, แบบ, พรรณะ. วมุ อุคฺครเณ, โพ. แปลง ว เป็น พ แปลง อ เป็น อิ.
  24. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  25. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  26. สมาเนติ : ก. นำมาเปรียบ
  27. สสนฺทติ : ก. เปรียบเทียบ, ไหลไป
  28. สุวณฺณรูป สุวณฺณรูปก : (นปุ.) รูปทำด้วยทอง, รูปเปรียบทำด้วยทอง.
  29. หตฺถิก : (ปุ.) ตุ๊กตาช้าง. หตฺถี+ก ปัจ. ลงในอรรถเปรียบเทียบ รัสสะ อี เป็น อิ. สัตว์นี้เพียงดังช้าง วิ. หตฺถี อิว อยํ สตฺโต หตฺถิโก.
  30. อติวิย : (อัพ. อุปสรรค) เกินเปรียบ, เหลือเกินอย่างยิ่ง.
  31. อตุลอตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มีความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
  32. อตุล อตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มี ความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
  33. อนุปม : ค. ไม่มีผู้เปรียบ
  34. อนูปม : ค. ไม่มีสิ่งเปรียบ, หาที่เปรียบมิได้
  35. อปฺปฏิปุคฺคล : (วิ.) มีบุคคลเปรียบหามิได้, ไม่มีบุคคลเปรียบ.
  36. อปฺปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบหามิได้, ไม่มีส่วนเปรียบ, เทียบไม่ได้.
  37. อปฺปฏิม : ค. ไม่มีที่เปรียบ, หาสิ่งเปรียบมิได้
  38. อปฺปฏิสม : (วิ.) ไม่มีบุคคลอื่นเสมอเปรียบ.
  39. อสทิส : ค. ไม่เหมือนกัน, ไม่มีสิ่งเปรียบ
  40. อสนฺตุเลยฺย : ค. ไม่พึงชั่ง, ไม่ควรเปรียบ
  41. อาทิตฺตปริยายสุตฺต : นป. อาทิตตปริยายสูตร, พระสูตรที่ตรัสเปรียบราคะ, โทสะ, โมหะว่าเป็นของร้อน
  42. อุปนิกฺเขป : ป. การวางไว้ใกล้, การตั้งไว้ใกล้, การให้คำมั่นสัญญา, การวางประกัน, การหยิบเอาไปวางเปรียบเทียบ
  43. อุปนิธา : อิต. การเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง
  44. อุปม : ค. มีอุปมา, เปรียบเทียบได้
  45. อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
  46. อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
  47. อุปเมติ : ก. อุปมา, เปรียบเทียบ
  48. อุปเมยฺย : ค. อุปไมย, สิ่งที่เขาพึงเปรียบเทียบได้
  49. อุปสหรณ : นป. การนำมาพร้อม, การนำมาเปรียบเทียบ
  50. อุปสหรติ : ก. นำมาพร้อม, นำมารวมกัน, พิจารณา, เอาใจใส่, ช่วยเหลือ, เปรียบเทียบ
  51. [1-50]

(0.0698 sec)