เจตาเปติ : ก. แลก, เปลี่ยน, ซื้อขาย
ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
อุปคุยฺห : (ปุ.) ราชพาหนะหลวง. อุป+คุหฺ สํวรเณ, ยปจฺจโย, ยกฺปจฺจโย วา. เปลี่ยน ย ไว้หน้า ห.
กยวิกย กยวิกฺกย : (ปุ.) การซื้อและการขาย, การซื้อขาย, การเปลี่ยน, การแลกเปลี่ยน.
กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
ฆุฏติ : ก. ตี, เฆี่ยน, ประหาร; แลกเปลี่ยน
จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
เจตาปน : นป. การแลกเปลี่ยน, การซื้อขาย
เถรวาท : (ปุ.) เถรวาทชื่อนิกายของพระพุทธ- ศาสนาฝ่ายใต้ซึ่งถือพระธรรมวินัยตามมติ ของพระเถรพุทธสาวกที่ได้ทำสังคายนาไว้ คือไม่ยอมเปลี่ยนหรือถอนพระวินัย แม้ แต่ข้อเล็กน้อย.
ทพฺพวินิม : (วิ.) แลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์, ซื้อ, ขาย.
ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
นิมินาติ : ก. แลกเปลี่ยน, เปลี่ยนแปลง, หมุนเวียน
ปฏิภณฺฑ : นป. ของหรือสินค้าแลกเปลี่ยน
ปณติ : ก. ขาย, ซื้อขาย, แลกเปลี่ยน, ตกลงราคา, พนัน
ปติทาน : นป. สิ่งตอบแทน, การให้ตอบ, การคืนให้, การแลกเปลี่ยน
ปรภต : (ปุ.) นกกระเหว่า.วิ. เหมือน ปรปุฏฺฐ. เป็นแต่เปลี่ยน โปสิโต เป็น ภโต ภรฺ โปสเน, โต. ลบที่สุดธาตุ.
ปริณต : กิต. เปลี่ยนไปแล้ว, แปรไปแล้ว, สุกงอมแล้ว, แก่แล้ว, งอมแล้ว
ปริณมติ : ก. เปลี่ยนไป, แปรไป, สุกงอม, แก่, งอม
ปาริวฏฺฏก : คง เปลี่ยนแปลง, หมุนรอบ, แลกเปลี่ยน
ปิณฺฑปฏิปิณฺฑ : ป. ก้อนข้าวตอบก้อนข้าว, การให้เพื่อแลกเปลี่ยน, การให้เพื่อหวังผลตอบแทน
มชฺชวิกฺกยี : (ปุ.) คนขายเหล้า. มชฺช+วิ+กี ธาตุในความแลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์ ณี ปัจ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย ซ้อน กฺ.
วิกติ : ๑. อิต. ชนิด;
๒. ค. เปลี่ยนไป, ไม่ปรกติ
สงฺกนฺต : กิต. ก้าวไปแล้ว, เปลี่ยนไปแล้ว
สมฺภาสน : (นปุ.) การพูดกัน, การเจรจากัน, การเจรจาปราศรัย, การพูดโต้ตอบกัน, สัมภาษณ์(การพูดแลกเปลี่ยนความคิดกัน). สํปุพฺโพ, ภาสฺ วจเน, ยุ. ส. สมฺภาษณ.
สฺยาม : (ปุ.) ประเทศเจริญ, ประเทศรุ่งเรือง(ด้วยความดี), สยาม(สะหยาม), ประเทศสยาม. ปัจจุบันคือ ประเทศไทย (เปลี่ยนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓). สุ วุทฺธิยํ, อามปจฺจโย. แปลง อุ เป็น ย.
อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ
ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
อชฺโฌคาฬฺห : (ปุ.) การหยั่งลง.อธิโอ ปุพฺโพ, คาหุวิโลฬเน, โต. ธาตุมีหเป็นที่สุด แปลงต เป็น หแปลงที่สุดธาตุเป็นลแปลง ล เป็น ฬรูป ฯ ๖๐๕หรือลง ฬปัจ.แล้วเปลี่ยนอักษรหรือแปลงต ปัจ. เป็น ฬฺหแล้วลบที่สุดธาตุตามบาลีไวยากรณ์.
อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
อธมณฺณ : (ปุ.) ลูกหนี้.วิ.อิเณอธโมอธมณฺ-โณ.เอา อิ ที่ อิณ เป็น อ ได้รูปเป็นอณ แปลง ณ เป็นณฺณ.แล้วเปลี่ยนบทหน้าไว้หลัง.ส.อธรฺมณ
อพฺยย : (วิ.) คงที่, อยู่ที่, ไม่สิ้น, ไม่เสื่อม, ไม่แปลง, ไม่เปลี่ยน, ไม่เปลี่ยนแปลง, ไม่แปลผัน, ไม่ฉิบหาย.นปุพฺโพ, พฺยยฺขเย, อ.
อาวตฺต : ๑. นป. การหมุนไป, การพัดไป, การน้อมไป;
๒. ค. ซึ่งหมุนไป, ซึ่งเปลี่ยนไป
อาวตฺตติ : ก. หมุนกลับ, เปลี่ยนไป, หันไป
อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
อุตฺตมณ อุตฺตมิณ : (ปุ.) เจ้าหนี้ (ผู้ให้ยืม). วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมโณ อุตฺตมิโณ วา. เปลี่ยนศัพท์ คือเอา อุตฺตม ไว้หน้า ศัพท์ หน้าลบ อิ ที่ อิณ ศัพท์หลังไม่ลบ.
อุปกฏฺฐ อุปกฺกฏฺฐ : (วิ.) ใกล้, จวน. วิ. กณฺฐํ สมีป มุปคโต อุปกฏฺโฐ, กณฺฐสฺส กฏฺฐา- เทโส, ณโลโป วา, ฏฺสํโยโค. ลบ คต แล้วเปลี่ยนบทหน้าที่แปลงเป็น กฏฺฐ ไว้ หลัง. ส. อุปกณฺฐ.
อุปาหน : (ปุ. นปุ.) เกือก, รองเท้า. วิ. ตํ ตํ ฐานํ อุปหนฺติ เอเตนาติ อุปาหโน. ตโต ตโต จ อุปหนฺติ เอเตนาติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อุปนยฺหเตติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อ. ทีฆะและเปลี่ยนอักษร.
อุว อวยฺห : (ปุ.) ช้าง, ม้าชำนิ (ม้าสำหรับขี่ ม้าแสนรู้). ศัพท์แรก อุปุพฺโพ, วา คติยํ, อ. ศัพท์หลัง อุปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โย. เปลี่ยนอักษร.
ภารปาทตา : (อิต.) ตีนทู่, เท้าทู่, โรคตีนทู่, โรคเท้าทู่.
สีปท : (นปุ.) เท้าทู่, โรคเท้าทู่, โรคเท้าช้าง. วิ. ฆนภาวโต สิถิลํ ปทํ สีปทํ. วณฺณนาโส (ลบ ถิล), ทีโฆ จ (และทีฆะ อิ เป็น อี).