พลิพทฺท พลิวทฺท : (ปุ.) โคมีกำลังอันเจริญ, โคใช้งาน, โคถึก (เปลี่ยว หนุ่ม), โคผู้เนื่องแล้วด้วยกำลัง, โคผู้. วิ. พลํ วทฺธยตีติ พลิวทฺโท พลิพทฺโท วา. พลปุพฺโพ, วทฺธฺ วฑฺฒนปูรเณสุ, อ. แปลง ธ เป็น ท.
เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
วิธุร : ค. เปลี่ยว, ว้าเหว่
กูฏโคณ : ป. วัวเปลี่ยว, วัวที่ไม่เชื่อง
โควิส โควุสก : (ปุ.) วัวถึก วัวเถลิง ( วัวเปลี่ยว วัวหนุ่ม ). โค+วสุ (คะนอง). ศัพท์ต้นแปลง อุ เป็น อิ ศัพท์หลัง ก สกัด. มีต้นไม้ชนิด หนึ่งชื่อ วัวเถลิง จะหมายถึงด้วยหรือไม่ ?
ปนฺถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ทางเปลี่ยว, ถนน. วิ. ปถยนฺติ ยนฺตฺยเนนาติ ปนฺโถ. ปถิ คติยํ, ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น นฺ อภิฯ และฎีกาฯ ลง นฺ อาคมกลางธาตุ.
ปริปนฺถ : (ปุ.) อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ, อันตรายในทางเปลี่ยว, ทางเปลี่ยว, หนทางเปลี่ยว, อันตราย อุ. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ปริปุพฺโพ, ปถิ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
รโห : อ. อย่างลับ ๆ , ในที่ลับ, ในที่เปลี่ยว
อสกูฏ : (ปุ.) จะงอยบ่า, หัวไหล่ก็แปล. ส. อํสกูฏหนอก, เปลี่ยวโค (เนื้อที่นูนขึ้นที่คอ).
เอกากินี : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงที่อยู่เปล่าเปลี่ยว
เอกากิย : ค. โดดเดี่ยว, เปล่าเปลี่ยว
เอกากี : (วิ.) ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เปล่าเปลี่ยว. เอกศัพท์ อากี ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๕.
เอกิกา : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงเปล่าเปลี่ยว