อาภาติ : ก. ส่องแสง, เปล่งรัศมี
โอภาส : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ความสวยงาม, ความสุกใส, ความเปล่ง ปลั่ง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. อวปุพฺโพ, ภาสฺ ทิตฺติยํ โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
เกตุมาลา : (อิต.) พระเกตุมาลา ชื่อ รัศมีมีซึ่ง เปล่งอยู่เหนือพระเศียรของพระพุทธเจ้า.
ปมุญฺจติ : ก. เปลื้อง, แก้, ปลดปล่อย; เปล่ง; สะบัด
สมุทาหรติ : ก. ร้องเรียก, เปล่ง
อุทาเนติ : ก. อุทาน, เปล่ง, เปล่งวาจา
กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
ฉฎา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ, รัศมี, เส้นตรง, แถวตรง. ส. ฉฏา.
ทิตฺติ : (อิต.) ความสวยงาม, ฯลฯ. ความรุ่ง เรือง, ไฟ, รัศมี, แสง. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ.
ทีธิติ : (อิต.) ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. ทีธฺยตีติ ทีธีติ. ทีธิ ทิตฺติยํ, ติ. ทิปฺปตีติ วา ทีธีติ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ, ปสฺส โธ, อิอาคโม, ทีโฆ. ส. ทีธีติ.
นิภา : (อิต.) ความรุ่งเรืองโดยหาเศษมิได้, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสงสว่าง. วิ. นิสฺเสเสน ภาตีติ นิภา. กฺวิ ปัจ. กัจฯ ๖๓๙.
ภา : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รัศมี, ความสว่าง, ความรุ่งเรือง. ภา ทิตฺติยํ, อ.
รุจิ : อิต. ความพอใจ, ความชอบใจ, ความอยาก; รัศมี, แสง
อจฺจิ : (อิต.) ไฟ, เปลวไฟ, รัศมี, แสง, แสงสว่าง, แสงไฟ.อจฺจ ปูชายํ, อิ. ในบาลีไวยากรณ์เป็น นปุ.
อจฺฉิ : (นปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, แสงไฟ, รัศมี, แสง, ตา, นัยน์ตา, วิ. อจฺฉติ เอเตนานิอจฺฉิ. อจฺฉ ทสฺสนพฺยาปเนสุ, อิ.
อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
อาภา : (อิต.) รัศมีอันรุ่งเรืองโดยยิ่ง, รัศมี, แสงแสงสว่าง, ความสว่างความรุ่งเรือง. อาปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ.อภิฯ ลง กฺวิปัจ. ส.อาภา
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
โคตม : (ปุ.) พระอาทิตย์ (สว่างที่สุด). โค (แสงสว่าง รัศมี) ตม ปัจ.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
โชติรส : (วิ.) มีรัศมีอันรุ่งเรือง, (มณี) มีน้ำ (รัศมี) อันโชติช่วง. โชติ+รํสิ ลบนิคคหิต แปลง อิ เป็น อ หรือ โชติ + รส (รัศมี) ก็ได้.
นารา : (อิต.) แสง, แสงสว่าง (นำไปถึงที่หมาย). นรฺ นยเน, โณ. รัศมี ก็แปล.
พฺยามปฺปภา : อิต. รัศมี ๑ วา ซึ่งซ่านออกจากพระกายของพระพุทธเจ้า
รสิ : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รังสิ, รังสี, รัศมี. วิ. รสนฺติ ตํ สตฺตาติ รํสิ. รสฺ อสฺสาทเน, อิ, นิคฺคหิตคโม.
อภิกฺขฺยา อภิขฺยา : (อิต.) ชื่อ, รัศมี. อภิปุพฺโพ, ขฺยา ปกาสเน, กฺวิ.
อาโลก : (ปุ.) การเห็น, การดู, ความสว่าง, ความรุ่งเรือง, แสง, แสงสว่าง, รัศมี. อาปุพฺโพ, โลกฺ ทสฺสเน, อ. ส.อาโลก.
อภิกฺขฺยาอภิขฺยา : (อิต.) ชื่อ, รัศมี.อภิปุพฺโพ, ขฺยาปกาสเน, กฺวิ.
ปยิรุทาหรติ : ก. เปล่ง, ประกาศ
อุจฺจารณ : (วิ.) เปล่ง, เทสนา, ชี้แจง, แถลง, บรรยาย, แสดง, สวด. อุปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
อุทาหรติ : ก. เปล่ง, สวด, ยกมาอ้าง
อุทีเรติ, อุทีรยติ : ก. เปล่ง, กล่าว, พูด, ประกาศ; ให้เกิดขึ้น, ให้มีขึ้น
กลติ : ก. เปล่งเสียงร้อง, ร้องออกมา
กลิต : กิต. เปล่งเสียงร้อง
กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
โกมุติ : (อิต.) แสงจันทร์, รัศมีพระจันทร์. แปลง ที เป็น ตี.
โกมุท โกมุทฺท : (นปุ.) บัวแดง, แสงจันทร์, รัศมีพระจันทร์. ดู กุมุท.
โกมุที : (อิต.) แสงจันทร์, รัศมีพระจันทร์. กุมุทสฺสายํ วิกาโร โกมุที. ณี. อภิฯ
คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
จนฺทปภา : (อิต.) แสงจันทร์, รัศมีพระจันทร์.
จนฺทมณฺฑล : นป. จันทมณฑล, มณฑลแห่งพระจันทร์, วงรัศมีแห่งพระจันทร์, วงเดือน
จนฺทิกา : (อิต.) แสงจันทร์, รัศมีพระจันทร์. วิ. จนฺทํ อาจิกฺขตีติ จนฺทิกา จนฺทปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสเน, อ, ขฺโลโป. อิตฺถิยํ อา.
จาตุรนฺตรสิ : (วิ.) มีรัศมีแผ่ไปในทิศทั้งสี่ (พระอาทิตย์), จาตุรนต์รัศมี.
ฉฎาภา : (อิต.) รัศมีคือความรุ่งเรือง, แสงสว่าง. ส. ฉฏาภา ว่าฟ้าแลบ.
ชุณฺหา : (อิต.) รัศมีพระจันทร์, แสงจันทร์. วิ. ชุติ อสฺสาตฺถีติ ชุณฺหา. ชุติศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิ เป็น อ แปลง ต เป็น ณ. จนฺทสฺส ชุตึ โสภํ นยฺหติ พนฺธตีติ วา ชุณฺหา. คืน เดือนหงาย, วันดือนหงาย. ชุต (นปุ.?) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อ ปัจ.
ชุติ : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อิ ปัจ.
ชุตินฺธร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งรัศมี, ฯลฯ.
ทุรุตฺต : ค., นป. (คำพูด) ซึ่งเปล่งไว้ไม่ดี, ซึ่งกล่าวไว้ชั่ว; คำพูดชั่ว, คำหยาบ
เทฺววาจิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยวาจาสอง; ผู้เปล่งวาจาสองหนคือ กล่าวถึงพระพุทธเจ้าหนหนึ่งพระธรรมหนหนึ่ง; (ญัตติ) ซึ่งตั้งสองครั้ง
ธนติ : ก. เปล่งเสียง, ออกเสียง
ธมติ : ก. เป่า, พัด, ทำเสียง, เปล่งเสียง, จุดไฟ, ไหม้, เกรียม, ถลุง, หลอม