โอปาเฏติ : ก. แก้, เปิด, ฉีกออก, เจาะ, เฉือน
มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
อปาปุรติ, อปาปุณติ : ก. เปิด (ประตู)
อปารุต : ค. เปิด (ประตู) , ซึ่งถูกเปิดแล้ว
สาณิ : (อิต.) ม่าน, ผ้าม่าน, มู่ลี่, ฉาก, พระวิสูตร.
โกส : (วิ.) แย้ม, ตูม, แง้ม (เปิดน้อยๆ).
จกฺกลิก : นป. ผ้าผืนเล็ก (สำหรับหน้าต่าง), ม่านหน้าต่าง, บังตา
จิตฺตสาณี : อิต. ม่านอันวิจิตร, ฉากซึ่งมีลวดลายสวยงาม
เจโตวิวรณ : นป. การเปิดเผยซึ่งจิต, การปล่อยใจ
ชวนิกา : (อิต.) ผ้าม่าน. ชุ คติยํ พนฺธเน วา, ยุ, อนกาเทโส (แปลง ยุ เป็น อนก), อิอาคโม.
ติโรกรณี : (อิต.) ผ้าม่าน วิ. ติโร กรียติ ปถียติ ยาย สา ติโรกรณี. เวสฯ ๕๐๖ วิ. ติโร กโรนฺติ เอตายาติ ติโรกรณี.
ติโรฉท : ป. ภายนอกที่กำบัง, ภายนอกม่าน
ทนฺตวิทสก : ค. ซึ่งเปิดเผยฟัน, (การหัวเราะ) จนเห็นฟัน
ทฺวารปิทหน : นป. การเปิดประตู
ทิฏฺฐาวิกมฺม : นป. การทำความเห็นให้แจ้ง, การเปิดเผย, สารภาพ
นขลิขิต : (นปุ.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, การเขียนทำเหมือนรูปเล็บ, นขลิขิต. ไทยใช้ นขลิต เป็นชื่อของเครื่อง หมายรูปดังนี้ ( ) เรียกว่าวงเล็บเปิด วงเล็บปิด.
นิวารณ : (นปุ.) การปิด, การปิดบัง, การเปิด บังให้พ้นภัย, การเกียดกัน, การป้องกัน, การป้องกันให้พ้นภัย, การพิทักษ์รักษา, ความปิด. ฯลฯ. นิปุพฺโพ, วรฺ อา วรเณ, ยุ. ส. นิวารณ การขัดขวาง, การต่อต้าน.
นิวาริต : ๑. ค. อันเขาห้ามแล้ว;
๒. ค. ซึ่งไม่ถูกห้าม, ซึ่งไม่ถูกกั้น, ซึ่งไม่ถูกเปิด, อันเขาเปิด
ปฏิจฺฉนฺนกมฺมนฺต : ค. ผู้มีการงานอันปิดบัง, ผู้มีการกระทำอันไม่เปิดเผย, ผู้ทำงานเร้นลับ, ผู้ปกปิดการกระทำ
ปวารณา : อิต. การเปิดโอกาสให้ตักเตือนกันในคราวออกพรรษาของสงฆ์; การอนุญาตให้ขอสิ่งของได้, การเปิดโอกาส
ปุฏเภท : ป., ปุฏเภทน นป. การแตกต่างแห่งถุงหรือห่อ, การเปิดถุงหรือห่อ
ผาลิต : ค. ซึ่งเปิดออก, ซึ่งแตกออก, ซึ่งขยายออก,ซึ่งยืดออก
ผาลิม : ค. ซึ่งเผยออก, ซึ่งผลิออก, ซึ่งแยกออก, ซึ่งเปิดออก, ซึ่งบาน
ผุฏ ผุฏน : (นปุ.) อันบาน, อันเปิดออก, อันปรากฏ, อันแจ่มแจ้ง, การบาน, ฯลฯ, ความบาน, ฯลฯ. ผุฏฺ วิกสเน, อ, ยุ. อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย. ผุฏฺ วิเภเท, อ, ยุ.
รหาภาว : ป. ความเปิดเผย, ความไม่ลับ
วิฆาฏน : นป. การแตกหัก, การเปิด
วิวฏ : กิต. เปิดแล้ว
วิวรณ : นป. การเปิด, การไขความ, การเผยแผ่
วิวรติ : ก. เปิด, ไขความ
อนาวฏ, อนาวาฏ : ค. เปิด, ไม่ปิด
*อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ
อนุตฺตาน : ค. ไม่ตื้น, ไม่เปิดเผย, ลึกซึ้ง, เข้าใจยาก
อโนก : (วิ.) ไม่ให้โอกาส, ไม่เปิดโอกาส.วิ.อภิสงฺขารสหคตวิญฺญาณสฺสโอกาสํนกโรตีติอโนโก.อถวา, กายทุจฺจริตสฺสวจีทุจฺจริตสฺสมโนทุจฺจริตสฺสโอกาสํนกโรตีติอโนโก.
อปาฏุก : ค. ไม่คม, ทื่อ, งุ่มง่าม, ไม่เปิดเผย, ซ่อนอยู่
อลีนตา : อิต. ความไม่หดหู่, ความไม่เฉื่อยชา, ความมีใจเปิดเผย, ความซื่อสัตย์สุจริต
อวาปูรณ : (นปุ.) ลูกกุญแจ, ลูกตาล, เครื่องบิด, เครื่องเปิด, เครื่องไข.วิ. อวาปูรติวิวรติทฺวารํ เอเตนาติ อวาปูรณํ.อวปุพฺโพ, ปุรฺสํวรเณ, ยุ.อถวา, วุสํวรเณ, ยุ, วสฺสโป, อุปสคฺคสฺสทีฆตา, อุการสฺสทีฆตา, รฺอาคโม.สัททนีติวางอว อาเป็นบทหน้าเป็นอวาปุรณบ้าง.
อวิจฺจ : ก. วิ. อย่างไม่ปกปิด, อย่างเปิดเผย
อวิวฏ : ค. ไม่เปิด, ไม่ห่าง
อาวิ : อ. ที่แจ้ง, ที่เปิดเผย, จะแจ้ง, กระจ่างแจ้ง
อุกฺกุชฺเชติ : ก. หงาย, ให้ตั้งขึ้น, เปิดเผย
อุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, เลิก, เคลื่อนไป
อุตฺตานี : ค. เปิดเผย, ปรากฏ, ตื้น
อุทฺทสฺเสติ : ก. แสดง (ตน), แสดงตัว, ปรากฏตัว, เปิดเผย, แสดงความประสงค์
อุปสมน, - มาน :
นป. ดู อุปสม
มานน : (นปุ.) การบูชา, การเคารพ, การนับถือ. มานฺ ปูชายํ, ยุ.
มานนา : (อิต.) การบูชา, การเคารพ, การนับถือ. มานฺ ปูชายํ, ยุ.
มานส : (วิ.) มีในใจ วิ. มนสิ ภวํ มานสํ (สุขํ วา ทุกฺขํ วา). ณ ปัจ. สฺ อาคม รูปฯ ๓๖๒.
มานสิก : (วิ.) อัน...กระทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสากตํ มานสิกํ. มีในใจ วิ. มนสิ ภวํ มนฺสิกํ. อันเป็นไปในใจ วิ. มนสิ ปวตฺตนํ มานสิกํ. ณิกปัจ.
มานโส : (อัพ. นิบาต) โดยความจำแนกโดยมาน, โดยการจำแนกโดยการนับ. วิ. มาเนน วิภาเคน มานโส. โส ปัจ. วิภาคตัท.
มานชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งความเย่อหยิ่ง, ฯลฯ.