ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
อทฺท : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก, แฉะ, อาบ, ซึม.อทฺคติยํ, อาปุพฺโพ วา, ทา อวขณฺฑเน, โท.
อุนฺทติ : ก. ไหล, ชุ่ม, เปียก
ติมิร ติมิล : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก. ติมุ อทฺทภาเว, อิโร. มืด, บอด. ติมุ กํขายํ, อิโร. ศัพท์ หลังแปลง ร เป็น ล.
อวสฺสุต : (วิ.) ชุ่ม, เปียก.อวปุพฺโพ, สุปสเว, โต.สุทฺ ปคฺฆรเณ, อ. แปลงทเป็นตซ้อนสฺ.
กฺลทน : (นปุ.) ความชื้น, ความชุ่ม, ความเปียก, ความซึม, ความเยิ้ม. กฺลทฺ อลฺลภาเว, ยุ. ส. กฺลทน.
กิลิชฺชติ : ก. เปียก, ชุ่ม, (แผล)เป็นหนอง
กิลินฺน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ซึม, เยิ้ม, หม่นหมอง. กิลิทฺ อทฺทภาเว, โต, อินฺนา เทโส, ทฺโลโป.
กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
กิเลทน : (นปุ.) ความเปียก, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
กิเลเสติ : ก. ทำให้เศร้าหมอง, ทำให้เปียก
ชลฺล : นป., ป. ความเปียก, ความชื้น, ความแฉะ; นักกีฬา, นักกายกรรม
ตินฺต : ค. เปียก, ชื้น, แฉะ
เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
เตมิตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การเปียก, การทำให้เปียก, การชุ่มชื้น; เพื่ออันเปียก, เพื่ออันชุ่ม
เตมิตุกาม : (วิ.) มีความปรารถนาเพื่ออันเปียก, มีความปรารถนาเพื่อจะเปียก, มีความต้องการเพื่อจะเปียก. เตมิตุ+กาม ลบ นิคคหิต.
เตมิยติ : ก. อันเขาทำให้เปียก, อันเขาทำให้ชื้น
เตเมติ : ก. ทำให้เปียก, ทำให้ชุ่ม, ทำให้ชื้น
ปคฺฆรณ : นป. การไหลซึม, การเปียกโชก, การไหลออกมา
ปิฏฺฐมทฺท : ป. แป้งเปียก
โปกฺขรวสฺส : (นปุ.) ฝนมีอาการราวกะว่าน้ำในใบบัว, ฝนโปกขรพรรษ ชื่อฝนมีสีแดงตกด้วยบุญฤทธิ์ต้องการให้เปียกก็เปียก ถ้าไม่ต้องการให้เปียกก็ไม่เปียก.
วฏฺฐ : กิต. เปียกฝนแล้ว
วุฏฺฐ : กิต. อยู่แล้ว, เปียกแล้ว
โสทก : ค. มีน้ำเปียกโชก
อทฺทายเต : ก. เปียก, ชุ่ม
อลฺยอลฺล : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ดิบ, สด, ใหม่อาบ, ซึม. อลฺกลิเล, อโล.รูปฯ ๖๕๙.อภิฯลงลปัจ.ศัพท์ต้นลงยปัจ.
อลฺลเกส : ป. ผมที่สระใหม่, ผมเปียก
อุนฺน : ค. เปียก, ชุ่ม, ชื้น
โอวตฺถ : กิต. เปียกแล้ว
ปิยก : ป. ไม้กระทุ่ม, ไม้ประดู่; กวาง, ชะมด