กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
ปตฺถาว : (ปุ.) โอกาส, ครั้ง, คราว, หน, รุ่น, ต้นเหตุ. ปปุพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว,โณ. ตฺสํโยโค.
สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
กติกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นครั้งเท่าไร, สิ้น คราวเท่าไร, สิ้นวาระเท่าไร, สิ้นกี่ครั้ง. กติ + กฺขตฺตํ ปัจ. ในอรรถ วาร. เป็น อัจจันตสังโยคะ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๑๕. กี่ครั้ง, กี่คราว, กี่หน. เป็นกิริยาวิเสสนะ.
จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
ตทา ตทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนั้น,ครั้งนั้น, คราวนั้น, เมื่อนั้น. วิ. ตสฺมึ กาเล ตทา ตทานิ วา. ต ศัพท์ ทา, ทานิ ปัจ. ตทา ใช้เป็นประธานบ้าง แปลว่า อ. กาลนั้น.
ติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสามครั้ง, สิ้นสาม คราว, สิ้นสามหน. ติ+กฺขตฺตํ ปัจ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็น กิริยาวิเสสว่า สามครั้ง, สามคราว, สามหน.
นวกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นเก้าครั้ง, สิ้นเก้า คราว, สิ้นเห้าหน. นวศัพท์ กฺขตฺตํ ปัจ. ลงใน ทุติยาวิภัติ แทน วาร ศัพท์ กัจฯ รูปฯ และโมคฯ. ถ้าแปลเป็น กิริยาวิเสสนะ แปลว่า เก้าครั้ง เก้าคราว เก้าหน.
อสีติ : (อิต.) แปดสิบ. แปลง อฏฺฐกคือทส๘ครั้ง เป็นอสลง โย วิภัติแปลงโยเป็นอีติรูปฯ ๓๙๗.แปลง ทสที่บอกอรรถว่าสิบ ๘ ครั้ง เป็น อสแปลง โยเป็นอีติ รูปฯ ๓๙๘.ทส ที่แปลว่า สิบ ๒ ครั้ง ๓ ครั้ง ฯลฯ๙ ครั้งเป็นเอกเสสสมาส.
จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
อิทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, ในคราวนี้, คราวนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้. อิม ศัพท์ ทานิ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ ใช้เป็นประธานบ้าง อุ. ภนฺเต อิทานิ ฯลฯ. ขุ.ธ.
อุตุ : (ปุ. อิต.) คราว, ฤดู. วิ. ปุนปฺปุนํ เอนฺตีติ อุตุโย. อิ คมเน, ตุ, อิสฺส อุ (แปลง อิ เป็น อุ). ตํ ตํ สตตกิจฺจํ อรติ วตฺเตตีติ อุตุ. อร. คมเน, ตุ. แปลง อรฺ เป็น อุ. ส. ฤตุ.
กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
กทาจน : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
กทาจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
กทาจิกรหจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, นานนานครั้ง
กรหิ : อ. ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางคราว
กลล : (นปุ.) กลละ กลลรูป ชื่อของการก่อตัว เริ่มแรกของสัตว์ คือเริ่มปฏิสนธิ เป็นรูป ครั้งแรกในครรภ์เป็นปรมาณู เล็กมาก วิ. กลํ ชรตํ ลาตีติ กลลํ. กลปุพฺโพ, ลา อา ทาเน, อ. กลฺ สงฺขฺยาเณ วา, อโล.
กุทาจน, - น : อ. ในกาลไหนๆ, ในกาลบางครั้งบางคราว
จีวรการสมย : ป. สมัยเป็นที่กระทำซึ่งจีวร, ระยะกาล (ที่ทรงอนุญาตไว้) เพื่อการทำจีวร, คราวที่พระทำจีวร
ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
ติกฺขตฺตุ : อ. สามครั้ง, สามคราว
ทฺวิกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นสองครั้ง, สิ้นสองคราว, สิ้นสองหน. ทฺวิ+ กฺขตฺตํปัจ. ลงในวาระศัพท์ รูปฯ ๔๐๓ . สองคราว, สองครั้ง. สองหน. สัมพันธ์เป็นกริยาวิเสสนะ.
ทฺวิติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสองครั้งและ สิ้นสามครั้ง, สิ้นสองคราวและสิ้นสามคราว, สิ้นสองหนและสิ้นสามหน. วิ. ทวิกฺขตฺตุญฺจติกฺขตฺตุญฺจ ทฺวิติกฺขตฺตุ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสองครั้งและสามครั้ง, ฯลฯ.
ทสกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นสิบครั้ง, สิ้นสิบ คราว, สิ้นสิบหน. ทส+กฺขตฺตํ ปัจ. ลงในวารศัพท์. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสิบครั้ง, ฯลฯ.
ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
ธมฺมจกฺก : (นปุ.) ธรรมเพียงดังจักร, ล้อคือ ธรรม, ลูกล้อคือธรรม , ธรรมจักร. เรียก พระธรรมเทศนา ซึ่งพระพุทธเจ้าเทศน์ ครั้งแรกว่า พระธรรมจักร เป็นคำเรียก แบบย่อ.
นวิมน : (อิต.)เก้าสิบ.แปลงทสที่แปลว่าเก้าสิบ(ทสเก้าครั้ง)เป็นนวลงโยวิภัติแปลงโยเป็นอุติรูปฯ๓๙๗.
ปถม :
(วิ.) ก่อน, แรก, เบื้องต้น, ครั้งแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, ต้น, เบื้องต้น, เป็นประธาน. ดู ปฐม ด้วย.
ปุนวาร : ป. คราวต่อไป, ครั้งใหม่
ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
ปุราณทุติยิกา : (อิต.) หญิงผู้ที่สองมีในก่อน, หญิงที่สองมีในก่อน, ปุราณทุติยิกา คือเมียที่มีอยู่ก่อนออกบวช ภริยาเก่าครั้งเป็นคฤหัสถ์ ภริยาเก่าของผู้ออกบวช.
พหุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) มากครั้ง, มากคราว, มากหน.
มหากจฺจายน : (ปุ.) พระมหากัจจายนะ ชื่อ พระเถระครั้งพุทธกาลองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นเอตทัคคะในการบรรยายธรรมให้พิสดาร.
มหาสมย : (ปุ.) ครั้งใหญ่, คราวใหญ่, ครวาประชุมใหญ่, มหาสมัย.
ยมกปาฏิหาริย : (นปุ.) ปาฏิ หาริย์เป็นคู่, ปาฏิหาริย์ที่ทรงแสดงปราบเดียรถีย์ มีครั้งเดียวเท่านั้น.
ยาวตติยก : (นปุ.) ยาวตติยกะ เป็นคำเรียกอาบัติ สังฆาพิเศษ ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๑๐-๑๓ เพราะต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์ประกาศห้ามครบ ๓ ครั้งแล้ว.
ยุค : (ปุ.) คราว, สมัย, กัปป์ (ยุค), ยุค, แอก, คู่. กำหนดเวลาของโลกมี ๔ ยุค คือ กฤดายุค ไตรดายุค ทวาปรยุค และกลียุค. ยุคที่อยู่กันนี้เป็นกลียุค เป็นยุคเสื่อมกว่ายุคก่อนๆ.
สนฺทฎฐ : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นครั้งแรกก็เป็นเพื่อนกัน). สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, โต. วิ. กิญจิ กาลํ ปสฺสิตพฺโพติ สนฺทิฏโฐ.
สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
อติเรกตร : (วิ.) มากกว่า, ยิ่งกว่า, ลาภเกินกว่ากำหนด, อติเรกลาภ คือของที่ได้มามากกว่าที่กำหนดไว้ได้มาเกินจากรายได้ปกติของที่ได้มาเป็นครั้งคราว.ส.อติเรกลาภ.
อเถกทิวส : (อัพ. นิบาต) ภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นวันหนึ่ง.บางมติตัดเป็นอถ ครั้งนั้นเอกทิวสํ ในวันหนึ่งนักภาษาจะใช้แบบไหนก็สุดแต่ชอบ.