ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
ภวติ : ก. มี, เป็น, เกิด
ภูติ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง, มั่งคั่ง, สำเร็จ.
ภูวิ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง. วิ ปัจ.
ลย : ป. มาตราเวลา = ๑๐ ขณะ ; เสียงรองประสานกับเสียงดนตรี ; จังหวะ
สามตฺถิย : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, มี, เป็น, ควร, สมควร.
โหติ : ก. มี, เป็น
ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
อากุลนีย : ค. มักใช้ในรูปปฏิเสธ, เป็น อนากุลนีย = ไม่สับสน, ไม่ปนกัน
กมฺม : (วิ.) อันเขาย่อมทำ, อันเขาทำ, เป็น เครื่องอันเขาทำ, ฯลฯ.
กลฺยาณ : (วิ.) ดี. งาม, พะงา (งาม, สวย), เป็น ที่ชอบใจ, ชอบ, ไพเราะ, อ่อนหวาน. กลฺ สํขยาเณ, ยาโณ. ส. กลฺยาณ.
จารุ : (วิ.) สวย, งาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็น ที่ชอบใจ, เหมาะ, สม.
จุณฺณวิจุณฺณ : (วิ.) แหลกเหลว, ไม่เป็นชิ้นเป็น อัน, ละเอียด, ป่นปี้, ย่อยยับ, เป็น จุณวิจุณ (ละเอียดไม่มีชิ้นดี).
ติลิงฺคิก : (วิ.) อันประกอบด้วยลิงค์สาม, เป็น ไตรลิงค์.
ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
นาย นายก : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น หัวหน้า, เป็นประธาน, ผู้นำ, ผู้นำไป. วิ. เนตีติ นายโก. นิ นี วา นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น ณ ปัจ.
นิทสฺสน : (วิ.) แสดงออก, อ้าง, อ้างถึง, เป็น ตัวอย่าง.
ปมาณ : (วิ.) พอเหมาะ, เป็นประมาณ, เป็น หลักฐาน, เป็นที่เชื่อถือได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
ภาว : (วิ.) มี, เป็น อุ. มูลภาว เป็นรากเหง้า, ปรากฏ, เกิด, เจริญ, สรรเสริญ.
ภูตธรา : (อิต.) แผ่นดิน, เป็น ปุ. ก็มี.
อิสร อิสฺสร : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น จอม. วิ. อีสนํ สามิภวนํ อิสโร อิสฺสโร วา. ส. อีศวร.
อุพฺพุฬฺหวนฺต : ค. ที่เจริญยิ่งนัก, (ช้าง) ตัวประเสริฐ, เป็น อุรุฬฺหวนฺต ก็มี
สมฺมิสฺส : (วิ.) เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, รวมกัน, ผสม, ผสมกัน, ระคน, คลุกเคล้า. สํปุพฺโพ, มิสฺ มิสฺเส, อ. แปลง ส เป็น สฺส.
อุทฺธสุธ : (นปุ.) ดินปนเถ้ากับขี้วัว. เป็น อุทฺธาสุธ บ้าง.
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
โปน : (นปุ.) อันชำระ, อันทำให้บริสุทธิ์, การชำระ, การทำให้บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, ยุ. แปลง อุ เป็น โอ.
กกฺก : (ปุ.) จุณสำหรับอาบ (นฺหานจุณฺณ). กชฺชฺ พฺยถเน, อ. แปลง ชฺช เป็น กก. หนอก หนอกโค ก็แปล.
กก กงฺก : (ปุ.) นกอีลุ้ม, นกเหยี่ยวแดง, นกกระสา. กํกฺ โลลิเย, อ. เป็น กํกล กงฺกล โดยลง อล ปัจ. บ้าง. ส. กงฺก นกยาง พระยม.
กกจ : (ปุ.) เลื่อย, ดองดึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ใช้หัวทำยา, สวาด ชื่อ ไม้เถา มีหนาม. กจฺ พนฺธเน, อ, ทฺวิตฺตํ แปลง ก เป็น กก.
กกุฏ : (ปุ.) นกพิราบ, นกเขา. กุกฺ อาทาเน, อโฏ, อุสฺสตฺตํ, อสฺสุตฺตญฺจ (แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ และแปลง อ ที่ ก เป็น อุ).
กกุธ : (ปุ.) ไม้รกฟ้าขาว, ไม้กุ่ม. วิ. กํ วาตํ กุฏติ นิวาเรตีติ กกุโธ. เอกักขรโกสฎีกา. อภิฯ และ เวสฯ เป็น กกฺ ธาตุ อุธ ปัจ. แปลว่า ไม้รังไก่ ก็มี.
กงฺคุ : (อิต.) ข้าวฟ่าง, ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ, อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ, อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ, คุ สทฺเท, อุ. ส. กงฺคุ, กงฺคุนี.
กจฺจ : (ปุ.) คนสวย, คนงาม, คนสวยงาม. กจฺ ทิตฺติยํ, อ. แปลง จ เป็น จฺจ.
กช : (ปุ.) คานหาม. กจฺ พนฺธเน, อ. แปลง จ เป็น ช.
กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
กฏุมฺพ :
(นปุ.) ทรัพย์ กุฏมฺ วตฺตเน. โพ แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ดู กุฏุมฺพ ด้วย.
กฐิ น : (วิ.) แข็ง, กักขละ, สาหัส. เลว, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, ด่วน, รีบ. กฐฺ กิจฺฉ ชีวเน, อิโน. แปลง ฐ เป็น ถ เป็น กถิน บ้าง. ส. กฐิน.
กณฺฐ ก : (ปุ.) กัณฐกะ ชื่อม้า ซึ่งพระสิทธัตถะ ทรง เมื่อเสด็จออกผนวช, ละมั่ง, กวาง, เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ก้าง อุ. มจฺฉกณฺฐก ก้างปลา. เป็น กนฺถก บ้าง.
กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.
กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
กณฺเณชป : (ปุ.) คนพูดกระซิบที่หู, คนส่อ เสียด. กณฺเณ+ชป เป็น อลุตตสมาส.
กณิการ กณฺณิการ : (ปุ.) กรรณิการ์, กัณณิ การ์. วิ. อคนฺธปุปฺผตาย อตฺตานํ กณิฏฺฐํ กโรตีติ กณิกาโร กณฺณิกาโร วา. กณิฏฺฐปุพฺโพ กรฺ กรเณ, โณ, ฏฺฐโลโป. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น ณฺณ.
กณิฏฺฐ กนิฏฺฐ : (วิ.) น้อยที่สุด, น้อยเกิน, หนุ่มเกิน, น้อย. อปฺป หรือ ยุว ศัพท์ อิฏฺฐปัจ. เสฏฐตัท. รูปฯ ๓๘๐ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. โมคฯณาทิกัณฑ์ ๑๓๗ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ กน. ส. กนิษฐ.