สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
กุลฺลกวิหาร : ป. วิหารธรรมตื้นๆ , ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างง่ายๆ, ความเป็นอยู่อย่างธรรมดา
โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
จวนธมฺม : ค. มีการจุติเป็นธรรมดา, ซึ่งจะต้องตายจากไปอย่างแน่นอน
ชราธมฺม : ค. มีความแก่หรือคร่ำคร่าเป็นธรรมดา
ทุกฺขธมฺม : ป. ภาวะที่มีความทุกข์เป็นธรรมดา, ความทุกข์
ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
นิโรธธมฺม : (วิ.) มีความดับเป็นธรรมดา.
นิโรธธมฺมตา : อิต. ความเป็นสิ่งมีอันดับไปเป็นธรรมดา
ปกติก : ค. มีความคงที่, เป็นไปตามธรรมดา
ปุถุชฺชนิก : ค. ผู้เป็นปุถุชน, ผู้เป็นคนธรรมดา
มรณธมฺม : (วิ.) มีอันตรายเป็นสภาพ, มีความตายเป็นธรรมดา.
สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
สมุทยธมฺม : (วิ.) มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา.
อโมสธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เลอะเลือน, ความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา
อสทานธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เสื่อม, สภาพที่ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา
อสนฺโทสธมฺม : ค. ผู้ไม่มีความโกรธเป็นธรรมดา
อุปฺปาทวยธมฺมิน : (วิ.) มีอันเกิดขึ้นและอัน เสื่อมไปเป็นธรรมดา, มีความเกิดขึ้นและ ความเสื่อมไปเป็นธรรมดา. อุปฺผณฺฑน อุปฺผนฺทน (นุป.) ความหมั่น, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ, ปฺสํโยโค.
ธมฺมนิยาม : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, ธรรมดา, ธรรมนิยาม คือพระไตรลักษณ์.
นิรุฬฺห : ค. งอกขึ้น, เจริญขึ้น, ปกติ, ธรรมดา, สามัญ
ปกติ : อิต. ปรกติ, ธรรมดา, คงที่
ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
ภวติ : ก. มี, เป็น, เกิด
ภูติ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง, มั่งคั่ง, สำเร็จ.
ภูวิ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง. วิ ปัจ.
สามตฺถิย : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, มี, เป็น, ควร, สมควร.
โหติ : ก. มี, เป็น
ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
อากุลนีย : ค. มักใช้ในรูปปฏิเสธ, เป็น อนากุลนีย = ไม่สับสน, ไม่ปนกัน
กมฺม : (วิ.) อันเขาย่อมทำ, อันเขาทำ, เป็น เครื่องอันเขาทำ, ฯลฯ.
กลฺยาณ : (วิ.) ดี. งาม, พะงา (งาม, สวย), เป็น ที่ชอบใจ, ชอบ, ไพเราะ, อ่อนหวาน. กลฺ สํขยาเณ, ยาโณ. ส. กลฺยาณ.
กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
จารุ : (วิ.) สวย, งาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็น ที่ชอบใจ, เหมาะ, สม.
จุณฺณวิจุณฺณ : (วิ.) แหลกเหลว, ไม่เป็นชิ้นเป็น อัน, ละเอียด, ป่นปี้, ย่อยยับ, เป็น จุณวิจุณ (ละเอียดไม่มีชิ้นดี).
ติลิงฺคิก : (วิ.) อันประกอบด้วยลิงค์สาม, เป็น ไตรลิงค์.
ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
นาย นายก : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น หัวหน้า, เป็นประธาน, ผู้นำ, ผู้นำไป. วิ. เนตีติ นายโก. นิ นี วา นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น ณ ปัจ.
นิทสฺสน : (วิ.) แสดงออก, อ้าง, อ้างถึง, เป็น ตัวอย่าง.
ปมาณ : (วิ.) พอเหมาะ, เป็นประมาณ, เป็น หลักฐาน, เป็นที่เชื่อถือได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
ภาว : (วิ.) มี, เป็น อุ. มูลภาว เป็นรากเหง้า, ปรากฏ, เกิด, เจริญ, สรรเสริญ.
ภูตธรา : (อิต.) แผ่นดิน, เป็น ปุ. ก็มี.
อิสร อิสฺสร : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น จอม. วิ. อีสนํ สามิภวนํ อิสโร อิสฺสโร วา. ส. อีศวร.
อุพฺพุฬฺหวนฺต : ค. ที่เจริญยิ่งนัก, (ช้าง) ตัวประเสริฐ, เป็น อุรุฬฺหวนฺต ก็มี
สมฺมิสฺส : (วิ.) เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, รวมกัน, ผสม, ผสมกัน, ระคน, คลุกเคล้า. สํปุพฺโพ, มิสฺ มิสฺเส, อ. แปลง ส เป็น สฺส.
อุทฺธสุธ : (นปุ.) ดินปนเถ้ากับขี้วัว. เป็น อุทฺธาสุธ บ้าง.
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.